1 / 11

การพัฒนาศักยภาพชุมชน โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

การพัฒนาศักยภาพชุมชน โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. STRATEGIC ROUTE MAP : SRM. การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม. การสาธารณสุขมูลฐาน. การมีส่วนร่วมของประชาชน. การประสานการพัฒนากับสาขาต่างๆ. การพัฒนาระบบบริการให้เอื้อต่อการสาธารณสุขมูลฐาน. การทำความเข้าใจ

bryga
Download Presentation

การพัฒนาศักยภาพชุมชน โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาศักยภาพชุมชน โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ STRATEGIC ROUTE MAP : SRM

  2. การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม การสาธารณสุขมูลฐาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การประสานการพัฒนากับสาขาต่างๆ การพัฒนาระบบบริการให้เอื้อต่อการสาธารณสุขมูลฐาน

  3. การทำความเข้าใจ ปรัชญา แนวคิด อย่างลึกซึ้ง ทำให้เกิด ปัญญา ความเชื่อมั่นในงานที่รับผิดชอบ

  4. เข้าใจทฤษฎี 3 ก. เพื่อชุมชนเข้มแข็ง กรรมการ กรรมการ กองทุนสุขภาพ อสส./ แกนนำชุมชน กองทุน กำลังคน

  5. ต้องมีการจัดการนวัตกรรม ! • มองกว้าง • มุ่งที่กระบวนการ • เป็นการเสริมสร้างพลังจากภายใน • ยิ่งทำความสามารถยิ่งเพิ่ม • (ระบบพัฒนาสังคม ?) • มองแคบ • เอาผลงานเป็นหลัก • เห็นแต่ปัญหา • รวมศูนย์จากภายนอก • อยู่ในมือผู้เชี่ยวชาญ • (ระบบราชการทั่วไป?) เข้าใจแนวคิดของการพัฒนา ผสมผสาน • ชุมชนเปลี่ยนแปลง • สู่ความยั่งยืน • เกิดจิตสำนึก • พึ่งตนเองได้ • คุณภาพชีวิตดี • สุขภาพดี เพื่อสร้างความเข้มแข็ง เปรียบกับ เพื่อสนองความต้องการ Strength-basedDevelopment Need-based Development (Process-oriented) (Output-oriented) เน้นกระบวนการ ไม่เน้นผลงาน เน้นผลงาน ไม่เน้นกระบวนการ

  6. เข้าใจยุทธศาสตร์การสร้างสุขภาพเข้าใจยุทธศาสตร์การสร้างสุขภาพ แนวทางเดิม • สร้างบทบาทของบุคลากร • สร้างเทคโนโลยีของบุคลากร • สร้างแผนงานโครงการ • บริการประชาชน แนวทางใหม่ • สร้างบทบาทของประชาชน • สร้างเทคโนโลยีของประชาชน • สร้างแผนงานโครงการ (อปท./กองทุน) • รัฐปรับเจตคติ/บทบาทของบุคลากร(ทุกฝ่าย)ให้ตอบสนอง

  7. เข้าใจกระบวนการพัฒนา

  8. วิสัยทัศน์ “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา”

  9. บทบาทของประชาชนตามวิสัยทัศน์บทบาทของประชาชนตามวิสัยทัศน์ • ดูแลสุขภาพของตนเองได้ • ปฏิบัติต่อสภาวะแวดล้อมประเภทต่างๆอย่างเหมาะสม • ร่วมมือในการดำเนินมาตรการทางสังคม บทบาททั้งสามเป็นตัวกำหนด • ยุทธศาสตร์ของภาคีต่างๆที่มีส่วนสนับสนุน • กระบวนการสำคัญที่จะใช้เพื่อตอบสนอง • การพัฒนาทักษะของบุคลากร ข้อมูลทางบริหารและวิชาการ • การพัฒนาบริบท โครงสร้าง ผู้นำ และการทำงานเป็นทีม • แสดงด้วยภาพต่อไปนี้

  10. 3 ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการสร้างบทบาทของประชาชน การสร้างบทบาท ใหม่ของคนในสังคม สอดรับกันด้วย แผนที่ยุทธศาสตร์ 1. สมรรถนะขององค์กร 2.กระบวนการบริหารจัดการ 3.บทบาทของภาคีพันธมิตร

  11. สถานการณ์ความสำคัญ และกรอบแนวคิด มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารจัดการภาครัฐที่ดี (PMQA) ตัวชี้วัด กพร.

More Related