1 / 36

การปฐมนิเทศ วิชาการฝึกสมาธิฯ เทอมต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๑

การปฐมนิเทศ วิชาการฝึกสมาธิฯ เทอมต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๑. กรุณาติดตามข่าวสารกิจกรรม http :// philos - reli . hum . ku . ac . th /. และ http :// budhasamati . hum . ku . ac . th /. ติดตามข่าวสารกิจกรรมวิชา 388323 ได้ทาง http :// philos - reli . hum . ku . ac . th /.

bryga
Download Presentation

การปฐมนิเทศ วิชาการฝึกสมาธิฯ เทอมต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๑

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฐมนิเทศวิชาการฝึกสมาธิฯการปฐมนิเทศวิชาการฝึกสมาธิฯ เทอมต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๑ กรุณาติดตามข่าวสารกิจกรรม http://philos-reli.hum.ku.ac.th/ และ http://budhasamati.hum.ku.ac.th/

  2. ติดตามข่าวสารกิจกรรมวิชา 388323 ได้ทาง http://philos-reli.hum.ku.ac.th/ http://budhasamati.hum.ku.ac.th/

  3. แผนการเรียนการสอนและการสอบแผนการเรียนการสอนและการสอบ กรุณาติดตามข่าวสารกิจกรรมทาง http://philos-reli.hum.ku.ac.th/ http://budhasamati.hum.ku.ac.th/

  4. หลักเกณฑ์การเรียนและการเข้าฝึกอบรมสมาธิหลักเกณฑ์การเรียนและการเข้าฝึกอบรมสมาธิ คุณสมบัติของผู้สมัครเรียน ๑.เป็นผู้ที่มีศรัทธาในพระพุทธศาสนาและยินดีในการปฏิบัติ ตามคำสอนตามแนวมหาสติปัฏฐาน ๔ อย่างเคร่งครัด๒.เป็นนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่ได้ลงทะเบียนแล้ว๓.เป็นผู้มีสุขภาพจิตดีและมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ๔.เป็นผู้ที่สามารถรักษาศีล ๘ ได้อย่างเคร่งครัด๕.เป็นผู้ที่สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบในการปฏิบัติอบรมภาวนา ของทางวัดได้อย่างเคร่งครัด(ไม่ได้ไปผักผ่อนนะครับ)

  5. โครงการอบรมสมาธิตามแนวพุทธศาสนาโครงการอบรมสมาธิตามแนวพุทธศาสนา • จัดตามหลักสูตรวิชา ๓๘๘๓๒๓ (Buddhist Meditation) • รับนิสิตโดยการชำระค่าลงทะเบียนเรียนภาคต้นปีการศึกษา ๒๕๕๑ จำนวน 150 คน • ระยะเวลาอบรม ๗ วัน (วันที่ 6- 12 ตุลาคม 2551 ) • ช่วงการอบรมนิสิตทุกคนต้องสมาทานรักษาศีล ๘ อย่างเคร่งครัด • รับประทานอาหารเพียงวันละ๑ มื้อ: (เวลา 08.30) หลังจากนั้นมีน้ำปานะ 2 มื้อ • กิจกรรมอบรมสมาธิภาวนาเริ่มเวลา 05.30 -21.00 น. ทุกวัน • (โปรดดูรายละเอียดในตารางกิจกรรม) • สถานที่จัด: วัดป่าสุนันทวนาราม อ.ไทรโยค จ. กาญจนบุรี • วิทยากร : พระอาจารย์ มิตซูโอะ คเวสโก(พระวิปัสสนาจารย์สายหลวงปู่ชา) • จัดโดย : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  6. กิจกรรมการเรียน • ๑. การเข้าฟังบรรยายพิเศษ จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ครั้ง • เข้าฟังบรรยาย 2 ครั้ง 10 คะแนน • ต้องตรงเวลา และเข้าครบทุกครั้ง (มาสายตัดครั้งละ 3 คะแนน) และสรุปความเข้าใจการฟังบรรยายด้วยการทำรายงานส่ง ๑ ชิ้น (10 คะแนน) รวมคะแนนบรรยาย 2 ครั้ง และรายงาน(10/10) ( 20 คะแนน ) • ๒.การสอบไล่ (ภาคทฤษฎี) ( 30 คะแนน) นัดสอบวันพุธที่ ๓ เดือนกันยายน ๒๕๕๑เวลา ๑๖. ๓๐- ๑๘.๓๐ น. ณ ศร. ๓ ห้อง 204 -จากหนังสือ ประกอบการเรียน(ที่ภาควิชาฯจัดให้) นิสิตทุกคนจะต้องชำระค่าหนังสือและค่ากิจกรรม ( จำนวน200 บาท) ชำระที่ธุรการภาควิชาปรัชญาและศาสนา (ตั้งแต่วันนี้จนถึง สิ้นเดือน สิงหาคม 2551) -ข้อสอบ ปรนัย 80 ข้อ(20คะแนน) -อัตนัย 5 ข้อ(10 คะแนน) 1. คำอาราธนาศีล8 2.คำสมาทานศีล 8 3.คำถวายสังฆทาน 4.กิจเบื้องต้นของการปฏิบัติสมาธิ 5. วิธีการเดินจงกรม • ๓.การร่วมกิจกรรมโครงการ อบรมสมาธิครบ ๗ วัน ภาคปฏิบัติ : การเข้าโครงการฝึกอบรมสมาธิ 7 วัน ( 50 คะแนน)

  7. หนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนและการสอบหนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนและการสอบ ให้นิสิตไปรับที่ธุรการภาควิชาฯ พร้อมกับการชำระเงินค่ากิจกรรม (ทุกคน) ภายในเดือน สิงหาคม 2551 +

  8. เวลา๗วัน ชั่วโมงการปฏิบัติอบรมภาวนา ดังต่อไปนี้ • เวลาการบรรยายธรรมตลอดการฝึก (วันละ๓ ชม.) รวม๒๑ ชั่วโมง • เวลาการนั่งสมาธิภาวนาตลอดการฝึก(วันละ ๔ ชม.) รวม ๒๘ ชั่วโมง • เวลาการเดินจงกรมภาวนาตลอดการฝึก( วันละ๒ ชม.) รวม๑๔ ชั่วโมง • เวลาทำวัตรสวดมนต์เช้า-เย็น(วันละ ๒ ชม.) รวม๑๒ ชั่วโมง • เวลาการฝึกปฏิบัติอบรมภาวนา รวม ๗๕ ชั่วโมง • หมายเหตุ:ในคืนวันพระ นิสิตทุกคนต้องถือการปฏิบัติตลอดทั้งคืนร่วมกับพระ อุบาสกและอุบาสิกาโดยไม่มีการนอน ( การปฏิบัติเนสัสชิกะ) • สำหรับครั้งนี้ ตรงกับวันที่ 7 ตุลาคม 2551

  9. ตารางการบรรยายพิเศษ • ครั้งที่๑ วันเสาร์ที่ ๑๒ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๑ • เวลา ๑๓.๐๐- ๑๖.๐๐ น. ณ ศร. ๓ ห้อง ๔๐๓ กรุณาติดตามข่าวสารกิจกรรมทาง http://philos-reli.hum.ku.ac.th/ http://budhasamati.hum.ku.ac.th/

  10. ครั้งที่ ๒ วันเสาร์ที่ ๑๖เดือนสิงหาคม ๒๕๕๑ • เวลา ๑๓.๐๐- ๑๖.๐๐ น. ณ ศร. ๓ ห้อง ๔๐๓ กรุณาติดตามข่าวสารกิจกรรมทาง http://philos-reli.hum.ku.ac.th/ http://budhasamati.hum.ku.ac.th/ เรื่อง ....................................... โดยวิทยากร....................................

  11. ตารางการสอบ นัดสอบวันเสาร์ที่ ๑๓ เดือนกันยายน ๒๕๕๑ เวลา ๑๓.๐๐- ๑๖.๐๐ น. ณ ศร. ๓ ห้อง ๔๐๓ กรุณาติดตามข่าวสารกิจกรรมทาง http://philos-reli.hum.ku.ac.th/ http://budhasamati.hum.ku.ac.th/

  12. ศาลาอบรมการปฏิบัติธรรม 7 วัน 6 – 12 ตุลาคม 2551

  13. สวดมนต์ภาวนาทำวัตรเช้า - ทำวัตรเย็น • คลิปวีดีโอการนั่งสวดมนต์

  14. การเดินจงกรม

  15. การแต่งกาย ให้เตรียมชุดขาว - ดำ และชุดขาว เพื่อแสดงความเคารพต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์และสถานที่ นิสิตผู้เข้าฝึกอบรมสมาธิภาวนา ต้องแต่งกายดังนี้ สุภาพบุรุษ -สวมเสื้อสีขาว และกางเกงขายาวสีขาว - เทา - ดำ -ไม่ให้สวมกางเกงขาสั้น ขาสามส่วน และไม่คาดผ้าขาวม้า สุภาพสตรี -สวมชุดสีขาวหรือสี เทา -ดำ (ใช้กางเกงผ้าถุงหรือกระโปรงยาวเหนือข้อเท้า) -ไม่ให้สวมเสื้อผ้ารัดรูป เสื้อเอวลอยไม่มีแขน เสื้อบาง เสื้อคอกว้าง เสื้อคอลึก กางเกงขาสั้นและขาสามส่วน (ห้ามประกวดการแต่งตัว)(ทุกคน ห้ามสวมชุดนอน และเสื้อผ้ามีสีฉูดฉาดลวดลาย)

  16. กิจกรรมกายบริหารเจริญสติกิจกรรมกายบริหารเจริญสติ

  17. กิจกรรมกายบริหารเจริญสติกิจกรรมกายบริหารเจริญสติ

  18. ฟังธรรมบรรยายปุจฉาและวิสัชชนาฟังธรรมบรรยายปุจฉาและวิสัชชนา • คลิปวีดีโอการอบรมฟังบรรยายธรรม

  19. พระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก ( พระอาจารย์ผู้นำฝึกอบรม )

  20. โครงการอบรมสมาธิตามแนวพุทธศาสนาโครงการอบรมสมาธิตามแนวพุทธศาสนา ณ.วัดป่าสุนันทวนาราม อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี

  21. ประโยชน์ที่มากมายของสมาธิประโยชน์ที่มากมายของสมาธิ • สหรัฐอเมริกาใช้การเข้าฌานสมาธิ ช่วยชีวิตคนไข้ โรคหัวใจล้มเหลว • นักวิจัยอเมริกัน รู้สึกตื่นเต้นเมื่อค้นพบว่า การเข้าฌานสมาธิช่วยให้คนไข้โรคหัวใจล้มเหลว มีอาการทุเลาสบายดีขึ้นได้อย่างประหลาด คณะนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียที่เมืองฟิลาเดลเฟีย ได้ศึกษากับกลุ่มคนไข้โรคหัวใจล้มเหลวที่เป็นคนผิวสี 23 คน และเลือกเอาจำนวนครึ่งหนึ่ง ให้เข้าฝึกเข้าฌานสมาธิ เป็นเวลา 6 เดือน รายงานผลการศึกษาแจ้งว่า หลังจากนั้นทำการทดสอบโดยให้ออกกำลังเดินกันนาน 6 นาที เปรียบเทียบกัน ปรากฏว่ากลุ่มที่ทำสมาธิอาการทุเลาขึ้นอย่างสังเกตเห็นได้ และไม่ต้องกลับเข้านอนโรงพยาบาลอีกน้อยรายกว่ากันด้วย หมอโรเบิร์ต ชไนเดอร์ นักวิจัยอาวุโสของมหาวิทยาลัยการจัดการ ที่เมืองแฟรฟิลด์ รัฐไอโอวา กล่าวว่า โรคหัวใจวายเป็นปัญหาสุขภาพใหญ่อันหนึ่งของสหรัฐฯ “ถ้าหากเราสามารถทำอะไรสักอย่าง โดยที่การแพทย์สมัยใหม่ไม่อาจทำได้ จะเป็นคุณประโยชน์กับวงการแพทย์อย่างใหญ่หลวง” หมอโรเบิร์ตกล่าวว่า การเข้าฌานสมาธิเป็นสิ่งที่ฝึกได้ง่าย เพียงแต่ปฏิบัติวันละ 2 หน หนละ 15-20 นาทีเท่านั้น โดยการทำจิตให้ว่าง ลืมสิ่งต่างๆไปเสีย ปล่อยใจให้สงบนิ่ง เป็นสภาวะทางด้านสรีรวิทยา ร่างกายตกอยู่ในสภาพพักผ่อนอย่างแท้จริง และซ่อมแซมรักษาตัวเองได้ ผู้เชี่ยวชาญที่ทำการศึกษาได้กล่าวว่า การเข้าฌานสมาธิ จะช่วยยกคุณภาพชีวิตและความสามารถในการปฏิบัติของคนไข้โรคหัวใจล้มเหลว ขณะนี้กำลังเตรียมจะจัดตั้งศูนย์ศึกษาอิทธิพลของการทำฌานสมาธิ ของคนไข้โรคหัวใจล้มเหลว ขนาดใหญ่ขึ้นอีกหลายแห่ง.

  22. โครงการอบรมสมาธิตามแนวพระพุทธศาสนา๗วันณ วัดป่าสุนันทวนาราม จ. กาญจนบุรี จัดโดยภาควิชาปรัชญาและศาสนา มก.

  23. การประเมินผลคะแนนภาคปฏิบัติ(ใช้วิธีการตัดคะแนนออกถ้าละเมิดกฎ)การประเมินผลคะแนนภาคปฏิบัติ(ใช้วิธีการตัดคะแนนออกถ้าละเมิดกฎ) • การเตรียมตัวก่อนไปสู่วัด • ๑. นำเสื้อผ้าไปไม่เหมาะสมกับสถานปฏิบัติธรรม (๑๐ คะแนน) • ๒.นำอาหารไปเก็บไว้บริโภคเอง(๕ คะแนน) • ๓. นำของมีค่าอันอาจสูญหายได้ (๑ คะแนน) • ๔.ไม่เตรียมความพร้อม (๑ คะแนน) • ๕.ไม่ตรงต่อเวลานัดหมาย (๕ คะแนน) • ๖ . ไม่สำรวมอิริยาบถ ( ๑๐ คะแนน)

  24. การประเมินผลคะแนนภาคปฏิบัติ(ใช้เกณฑ์การให้คะแนน 50 คะแนน) • การปฏิบัติตนช่วงอยู่ในวัด ๗ วัน • สวดมนต์ภาวนาทำวัตรเช้า – เย็น (10 คะแนน) • สมาทานรักษาศีล ๘ ตลอดการฝึกอบรม (10 คะแนน) • การปฏิบัติตนตามมารยาทที่ ดีงาม ในการอบรม (30 คะแนน)เช่น • ๑.ไม่พูดคุย ไม่ทำเสียงดัง (๕ คะแนน) • ๒.มารยาทในการกราบ/การเดิน/นั่งเรียบร้อยถูกต้อง (๕ คะแนน) • ๓.การทำความสะอาดและเก็บภาชนะที่ใช้เรียบร้อย (๕ คะแนน) • ๔.เข้าร่วมกิจกรรมครบทุกช่วงและตรงเวลา (๕ คะแนน) • ๕.มีความตั้งใจในการนั่งสมาธิ /เดินจงกรม (๑๐ คะแนน)

  25. มาตรการการลงโทษ ๑.ไม่รักษาศีล ๘ และไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบของวัด (ตัดครั้งละ5 คะแนน) ๒.ไม่ทำวัตรเช้า-เย็นและขาดอบรมสมาธิตามตารางอบรม(ตัดครั้งละ 5 คะแนน) ๓.ไม่สำรวมอิริยาบถในขณะอบรม (คุยและใช้เครื่องสื่อสาร)(ตัดครั้งละ 5คะแนน) ๔. เครื่องแต่งกายไม่เรียบร้อย ไม่ถูกต้อง(ตัดครั้งละ 10 คะแนน) ๕.ยืนดื่มน้ำ, ยืนรับประทานอาหารและรับประทานเสียงดัง(ตัดครั้งละ 1 คะแนน) ๖. ทำกิจกรรมไม่กราบพระประธานในสถานที่ด้วยความเคารพ(ตัดครั้งละ1คะแนน) ๗. ทำตัวน่ารำคาญ (ตัดครั้งละ 5 คะแนน) ๘.สูบบุหรี่ (ตัดครั้งละ 5 คะแนน) ๙.ผู้ที่ไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบได้ครบหลักสูตร 7 วัน :จะไม่ได้รับการตัดเกรด จากภาควิชาฯ

  26. การให้บริการอาหารและเครื่องดื่มการให้บริการอาหารและเครื่องดื่ม กินเพื่ออยู่กินน้อย นอนน้อยปฏิบัติมาก • ๑. อาหารเช้า ( เครื่องดื่ม)เวลา ๐๗.๓๐-๐๘.๐๐ น. • ๒.อาหารกลางวัน เวลา ๐๘-๐๙.๓๐ น. • ๓.น้ำปานะ เวลา ๑๓.๐๐-๒๑.๐๐ น • อาหารเช้า - กลางวัน , น้ำปานะ ทางวัดจัดให้ที่ศาลาตามกำหนดเวลา • เมื่อรับประทานเสร็จต้องทำความสะอาดและเก็บภาชนะตามที่กำหนดให้เรียบร้อย

  27. เรื่องการรักษาความสะอาดเรื่องการรักษาความสะอาด • ผู้เข้าอบรมจะต้องทำความสะอาดบริเวณอาคารที่พัก และธรรมสถานและห้องน้ำทุกวัน • ทิ้งเศษขยะและเศษอาหารในสถานที่ที่กำหนดให้ การเตรียมของใช้ • ต้องเตรียมเสื้อผ้าให้พอดีกับวันอบรม 7 วัน (โดยไม่มีการนำไปซักที่วัด) • เตรียมของใช้ส่วนตัวเช่น สบู่ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน หวี ผ้าเช็ดตัว ยาประจำตัว ผ้าอนามัย ไฟฉาย นาฬิกาปลุก รองเท้ายาง เสื้อกันหนาว

  28. การแต่งกาย ให้เตรียมชุดสีขาว - ดำ 4 วันและชุดขาว 3 วัน เพื่อแสดงความเคารพต่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์และสถานที่ นิสิตผู้เข้าฝึกอบรมสมาธิภาวนา ต้องแต่งกายดังนี้ สุภาพบุรุษ -สวมเสื้อสีขาว และกางเกงขายาวสีขาว - เทา - ดำ -ไม่ให้ใช้กางเกงขาสั้น หรือขาสามส่วน และไม่คาดผ้าขาวม้า สุภาพสตรี -สวมชุดสีขาวหรือสี เทา -ดำ (ใช้กางเกงผ้าถุงหรือกระโปรงยาวเหนือข้อเท้า) -ไม่ให้สวมเสื้อผ้ารัดรูป ห้ามใส่เสื้อเอวลอยไม่มีแขน เสื้อบาง เสื้อคอกว้าง เสื้อคอลึก กางเกงขาสั้นและขาสามส่วน (ห้ามประกวดการแต่งตัว) (นิสิตทุกคน ห้ามสวมชุดนอน และเสื้อผ้ามีสีฉูดฉาดลวดลาย)

  29. ไม่อนุญาตให้นิสิตที่เข้าอบรมใช้รถส่วนตัวเดินทางไม่อนุญาตให้นิสิตที่เข้าอบรมใช้รถส่วนตัวเดินทาง • ทุกคนต้องเดินทางไปและกลับโดยรถบัสปรับอากาศของโครงการฯที่ภาควิชาจัดให้

  30. กำหนดการวันเปิดอบรม • วันที่6 ตุลาคม2551 • เวลา ๐๘.๑๕ น. รถออกจากบริเวณศร.3 หน้าคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • เวลา๑๓.๓๐ น. ถึงวัดป่าสุนันทวนาราม กาญจนบุรี • กราบรายงานตัวกับพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก • ตรวจเช็ครายชื่อ และเข้าที่พัก • ๑๗.๐๐ น. ปฐมนิเทศ จัดที่นั่งสวดมนต์ สอนวิธีนั่งสมาธิ-เดินจงกรม • ๑๘.๐๐-๒๑.๐๐ น.พิธีรับศีล-สมาทานกรรมฐาน(เริ่มการอบรม)

  31. ตารางกิจกรรมการฝึกอบรม7-11 ตุลาคม 2551 • เวลา ๐๕.๐๐ น. ตื่นนอน ปฏิบัติสรีระกิจส่วนตัว • เวลา ๐๕.๓๐-๐๗.๓๐ น. ทำวัตรเช้า(สวดมนต์แปล) • เวลา ๐๗.๓๐-๐๘.๑๕ น. เดินจงกรม(กายบริหาร: ชี่กง) • เวลา ๐๘.๓๐ -๐๙.๓๐ น. รับประทานอาหาร (มื้อเดียว) • เวลา ๑๐.๐๐ -๑๒.๐๐ น. อบรมธรรมและอบรมสมาธิ • เวลา ๑๒.๐๐ -๑๔.๐๐ น. ชั่วโมงปิดวาจา (อ่านหนังสือ/ปลีกวิเวก) เวลา ๑๔.๐๐ -๑๗.๐๐ น. ไขปัญหาธรรมและอบรมสมาธิ • เวลา ๑๗.๐๐ -๑๘.๐๐ น. ทำสรีระกิจและทำความสะอาดที่พัก • เวลา ๑๘.๐๐ -๒๐.๐๐ น. เดินจงกรม -ทำวัตรค่ำ-อบรมธรรม • เวลา ๒๐.๐๐ -๒๑.๐๐ น. นั่งสมาธิ/เจริญสติปัฏฐาน ๔

  32. กำหนดการวันปิดอบรม • วันที่ 12 ตุลาคม 2551 • เวลา ๐๕.๐๐ น. ตื่นนอน ปฏิบัติสรีระกิจส่วนตัว • เวลา ๐๕.๓๐-๐๗.๐๐ น. ทำวัตรเช้าและเดินจงกรม( ฝึกชี่กง) • เวลา ๐๘.๓๐ -๐๙.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า • เวลา ๑๐.๐๐- ๑๑.๐๐ น. -นิสิตผู้เข้าอบรมกล่าวขอขมาพระอาจารย์ และออกจากศีล 8 สมาทานศีล ๕ -ทุกคนร่วมถวายจตุปัจจัยชำระหนี้สงฆ์ - พระอาจารย์มิตซูโอะให้โอวาทและให้พร • ๑๑.๓๐ น. เดินทางขึ้นรถกลับมหาวิทยาลัย • ๑๖.๐๐ น. ถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดยสวัสดิภาพ

  33. ประกาศผลสอบวันอังคารที่ 15 ตุลาคม 2551 ที่ภาควิชาปรัชญาและศาสนา ชั้น ๕ คณะมนุษยศาสตร์ มก.

  34. กรรมฐานประจำวันเกิด • ลักษณะจริตนิสัยของคนที่เกิดในแต่ละวันนั้นเราสามารถเอาเรื่องของกรรมฐานเข้าไปประยุกต์ใช้ได้ เพื่อบั่นทอนลักษณะนิสัยที่ไม่ดีและส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีอยู่แล้ว ให้ดียิ่งขึ้น • กรรมฐานคืออะไรกรรมฐาน มาจากคำ ๒ คำ คือคำว่า กรรม + ฐานกรรม แปลว่า การกระทำก็ได้ หรือแปลว่าการงานก็ได้ส่วน ฐาน นั้นแปลว่า ที่ตั้ง ฉะนั้น ในเมื่อเอาคำ ๒ คำนี้ มารวมกันแล้วแปลให้ได้ความ ก็ควรจะแปลว่า อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งการงาน ทางใจคือพูดง่ายๆ หางานให้ใจมันทำซะ อย่าปล่อยใจให้ว่างงาน ไม่เช่นนั้นเดี๋ยวมันจะฟุ้งซ่านแล้วนำความรำคาญ มาสู่จิตใจกรรมฐานมี ๒ ขั้นกรรมฐาน หรืองานทางใจนี้ มีถึง ๒ ขั้นขั้นแรก เป็นงานทางใจในระดับต้น ที่จะช่วยกวาดล้างอารมณ์ฟุ้งซ่านต่างๆให้ออกไปจากใจ ทำใจให้สงบ ประณีต ไปโดยลำดับ ซึ่งมีวิธีการฝึก อยู่หลายอย่างหลายวิธี ซึ่งจะได้แนะนำกันต่อไป… ขั้นนี้ เราเรียกว่า ขั้นสมถกรรมฐาน หรือสมาธิ

  35. ขั้นต่อมาก็เป็นขั้นของการพัฒนาความเห็น ให้ถูกต้อง ตรงตามความเป็นจริง..สิ่งใดไม่เที่ยง ก็เห็นโดย ความจริง ว่าไม่เที่ยง… สิ่งใดเป็นทุกข์ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ก็เห็นโดยความจริง ว่าเป็นทุกข์….สิ่งใดเป็นอนัตตาบังคับบัญชา ให้เป็นไปอย่างใจไม่ได้ ก็เห็นโดยความจริงว่าเป็นอนัตตา… การเห็นความจริงอย่างนี้ ในทุกสิ่งทุกอย่าง จะทำให้เกิดความเบื่อหน่าย (นิพพิทา ) และคืนคลายถ่ายถอน ความยึดมั่นติดใจ ( อุปาทาน ) ในสิ่งทั้งหลายลงได้และเมื่อนั้นความทุกข์ทางใจ ก็จะมลาย หายไปสิ้น… ขั้นนี้แหละ ที่ท่านเรียกว่าขั้นของ วิปัสสนากรรมฐาน • คนเกิดวันไหนควรฝึกกรรมฐานอย่างใดติดตามดูได้จากเว็บไซด์ • คัดลอกมาจากกรรมฐานประจำวันของ อาจารย์บรรเจิด สังข์สวน

More Related