1 / 25

เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สายปฏิบัติการ วิชาชีพบริหารคุณภาพองค์กร

การจัดดำเนินการโครงการ ตามที่มหาวิทยาลัยคาดหวังในปี 2557. เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สายปฏิบัติการ วิชาชีพบริหารคุณภาพองค์กร. ประเด็นสิ่งที่คาดหวังจากเครือข่าย ในปีงบประมาณ 2557.

burian
Download Presentation

เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สายปฏิบัติการ วิชาชีพบริหารคุณภาพองค์กร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดดำเนินการโครงการการจัดดำเนินการโครงการ ตามที่มหาวิทยาลัยคาดหวังในปี 2557 เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สายปฏิบัติการ วิชาชีพบริหารคุณภาพองค์กร

  2. ประเด็นสิ่งที่คาดหวังจากเครือข่ายในปีงบประมาณ 2557 1.  การจัดโครงการฝึกอบรม สัมมนาตามแผนพัฒนาประจำปี 25572.  การติดตามความคืบหน้าการจัดทำระบบการจัดการความรู้ (KM)3.  การจัดทำโครงการ/หลักสูตรการเป็นพี่เลี้ยงสอนงานน้องที่เข้ามาใหม4.  การ Mapping หลักสูตร/โครงการให้ตรงกับ Functional Competency5.  การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพในโครงการมหกรรมคุณภาพ “ก้าวเล็กๆ ที่ยิ่งใหญ่ ก้าวใหม่เพื่อจุฬาฯ ปี 2557″

  3. เริ่มต้น....การกำหนดเป้าหมายเริ่มต้น....การกำหนดเป้าหมาย ต้องกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจนก่อนว่าสิ่งที่องค์กรต้องการจากการจัดการความรู้ คืออะไร เรียกว่า กำหนดเป้าหมาย (Desired State) ซึ่งการกำหนดเป้าหมายอาจจะพิจารณาจากยุทธศาสตร์ขององค์กรหรือจากปัญหาขององค์กร

  4. เป้าหมายจากการระดมความคิดเห็น มติจากการสัมมนาเครือข่ายวิชาชีพสายปฏิบัติการ ณ โรงแรมเดอะไทด์ โครงการ/กิจกรรม: โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกณฑ์การบริหารคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ (EdPEx) วัตถุประสงค์: เพื่อเตรียมความพร้อมของสมาชิกเครือข่าย และประชาคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวชี้วัด: ร้อยละของความรู้ความเข้าใจของเกณฑ์ EdPEx เพิ่มขึ้น (มีการทดสอบ Pre-test และ Post-test) ผู้รับผิดชอบ: เครือข่ายบริหารคุณภาพองค์กร ระยะเวลาดำเนินการ: ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557 งบประมาณ: 300,000 บาท

  5. กำหนดแผนกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) ชื่อกลุ่มงาน: เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ สายปฏิบัติการ วิชาชีพบริหารคุณภาพองค์กร เป้าหมายการจัดการความรู้ (Desired State): ………………………………………………………………………… หน่วยวัดความสำเร็จของการจัดการความรู้: …………………………………………………………………………….

  6. กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง 1. การบ่งชี้ความรู้ (Knowledge Identification) - การบ่งชี้ความรู้ที่องค์กรจำเป็นต้องมี - วิเคราะห์รูปแบบและแหล่งความรู้ที่มีอยู่ ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมได้อย่างไร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) - สร้างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ที่ กระจัดกระจายทั้งภายใน/ภายนอก เพื่อจัดทำเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ

  7. กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) - แบ่งชนิดและประเภทของความรู้ เพื่อจัดทำ ระบบให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหาและ ใช้งาน จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) - จัดทำรูปแบบและ “ภาษา” ให้เป็นมาตรฐาน เดียวกันทั่วทั้งองค์กร - เรียบเรียงปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและตรง กับความต้องการ

  8. กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ 5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) - ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว ในเวลาที่ต้องการ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) - การจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)- ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring System)- การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation)

  9. กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ 7. การเรียนรู้ (Learning) - นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ- แก้ปัญหาและปรับปรุงองค์กร

  10. การปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จการปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จ • กำหนดแผนในกระบวนการจัดการความรู้ (7 ขั้นตอน) • กำหนดทีมงาน หาที่ปรึกษา เพื่อให้ข้อคิดเห็นและการดำเนินงาน • สร้างเครื่องมือ KM สำหรับใช้ในการบันทึกข้อมูลที่ได้ • เรียนรู้และสร้างความเข้าใจในเรื่อง การจัดการความรู้จากผู้รู้ เว็บไซด์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในกลุ่มเครือข่าย • ระดมความคิดเห็นและดำเนินการตามขั้นตอนกระบวนการจัดการความรู้ตามแผน

  11. ตัวอย่าง Blog http://cuqanetwork.wordpress.com

  12. การจัดทำโครงการ/หลักสูตรเป็นพี่เลี้ยงการจัดทำโครงการ/หลักสูตรเป็นพี่เลี้ยง สอนงานน้องที่เข้ามาใหม่

  13. กระบวนการและผลลัพธ์ คณะกรรมการเครือข่าย • ออกแบบ/สร้างหลักสูตร • ความรู้/ประสบการณ์ • บทเรียนโมดูล 3 ระดับ • ระดับเบื้องต้น • ระดับกลาง • ระดับสูง นโยบาย มหาวิทยาลัย การเขียนโครงการ และสร้างหลักสูตร ความร่วมมือ สำนักบริหารยุทธศาสตร์และการงบประมาณ • คู่มือต่างๆ ในเว็บไซด์ • องค์ความรู้จากตัวบุคคล

  14. รูปแบบของบทเรียนโมดูลรูปแบบของบทเรียนโมดูล 1. คำชี้แจง Module Specification 2. จุดประสงค์ 3. ความรู้พื้นฐาน 4. การประเมินผลก่อนเรียน 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 6. การประเมินผลหลังเรียน

  15. การปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จการปฏิบัติให้เกิดผลสำเร็จ • เขียนโครงการเพื่อของบประมาณจากสำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ • มีพันธะสัญญาและเป้าหมายร่วมกันในการสร้างบทเรียนให้สำเร็จ • กรรมการเครือข่ายร่วมมือกันและแบ่งหน้าที่เพื่อช่วยกันสร้างบทเรียน • ตามความถนัดของแต่ละบุคคล • มีระบบการติดตามและแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน • ทดลองใช้ระบบและแก้ไข

  16. การสร้างความรู้ ทักษะในวิชาชีพ • มีความรู้/ความสามารถในวิชาชีพ • มีการทำงานเป็นทีม • มีทักษะด้านการบริหารจัดการ • มีทักษะด้านการติดต่อ สื่อสาร และประสานงาน • ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนางาน • มีทักษะด้านการจัดการความรู้ • เกณฑ์มาตรฐานระบบประกันคุณภาพ • การเก็บข้อมูลพื้นฐาน CDS • กระบวนการประกันคุณภาพ • ความเป็นผู้นำ ทักษะในการตัดสินใจในการแก้ไขงาน • มีความคิดเชิงบวก • รอบรู้ทิศทางยุทธศาสตร์ขององค์กร • ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในด้านต่างๆ อยู่เสมอ หมายเหตุ: ส่วนหนึ่งจากการระดมความคิดเห็นที่โรงแรมเดอะไทด์ บางแสน จ.ชลบุรี

  17. กระบวนการวิเคราะห์เพื่อกำหนด Functional Competency การสำรวจรายการจัดทำสมรรถนะประจำกลุ่มเครือข่ายบริหารคุณภาพองค์กร (เอกสารสรุปคะแนนรวม) ผลการสำรวจนำมาเรียงลำดับความถี่จากมากไปหาน้อย ตัดคะแนนที่ได้ต่ำกว่า 10 คะแนนออก วิเคราะห์ประเด็นที่เกี่ยวข้อง และนำมาจัดกลุ่มประเภทเดียวกัน กำหนดประเด็นใหม่เพื่อกำหนด Functional Competency

  18. ตัวอย่างผลการวิเคราะห์และการจัดทำหลักสูตรตัวอย่างผลการวิเคราะห์และการจัดทำหลักสูตร

  19. กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรบทเรียนโมดูลกรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรบทเรียนโมดูล

  20. ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรบทเรียนโมดูล:การประกันคุณภาพขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรบทเรียนโมดูล:การประกันคุณภาพ • การเตรียมความพร้อม • การสร้างความตระหนัก • พัฒนาบุคลากรเครือข่าย • จัดทำแผนพัฒนาบทเรียน • จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ • การจัดทำหลักสูตรสาระการเรียนรู้บทเรียนโมดูล • กำหนดหลักการและเหตุผล • กำหนดจุดมุ่งหมาย • ศึกษาความรู้พื้นฐานด้าน QA • จัดทำแผนกิจกรรมการเรียนรู้ • การวางแผนดำเนินการใช้หลักสูตร • การเข้าถึงการเรียนรู้ข้อมูล • จัดหา เลือก ใช้ ทำ และพัฒนาสื่อ • จัดกระบวนการเรียนรู้ • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • วัดและประเมินผล • วิจัยเพื่อพัฒนา 1 2 7 3 การปรับปรุง พัฒนา การใช้/การบริหารหลักสูตร บทเรียนโมดูล 4 การสรุปผลการใช้บทเรียนโมดูล การกำกับ/ติดตาม/ประเมิน การใช้บทเรียนโมดูล 6 5

  21. แผนโครงการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาบุคลากรใหม่ด้านการประกันคุณภาพแผนโครงการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาบุคลากรใหม่ด้านการประกันคุณภาพ

  22. แผนโครงการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาบุคลากรใหม่ด้านการประกันคุณภาพ (ต่อ)

More Related