1 / 11

เซต

เซต. ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ .. MathBRR. เซต หมายถึง กลุ่มของสิ่งของ(รูปหรือนาม) ที่ต่างกันซึ่งจะต้องกำหนด ชัดเจน ( well-defined) เพื่อให้ตัดสินได้ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นสมาชิกของเซตที่กำลังพิจารณาหรือไม่ สัญลักษณ์ a  S อ่านว่า a เป็นสมาชิกของเซต S

cade-newman
Download Presentation

เซต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เซต ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ ..MathBRR. เซต หมายถึง กลุ่มของสิ่งของ(รูปหรือนาม) ที่ต่างกันซึ่งจะต้องกำหนดชัดเจน (well-defined) เพื่อให้ตัดสินได้ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นสมาชิกของเซตที่กำลังพิจารณาหรือไม่ สัญลักษณ์ a  S อ่านว่า a เป็นสมาชิกของเซต S a S อ่านว่า a ไม่เป็นสมาชิกของเซต S ปกติจะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่แทนเซต และอักษรตัวเล็กแทนสมาชิกของเซ็ต

  2. การเขียนเซต • ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ ..MathBRR. 1) วิธีแจกแจงสมาชิก (Tubular form)มีหลักการเขียน ดังนี้ -เขียนสมาชิกทั้งหมดในวงเล็บปีกกา - สมาชิกแต่ละตัวคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) -สมาชิกที่ซ้ำกันให้เขียนเพียงตัวเดียว ในกรณีที่จำนวนสมาชิกมาก ๆ ให้เขียนสมาชิกอย่างน้อย 3 ตัวแรก แล้วใช้จุด 3 จุด (Tripple dot) แล้วจึงเขียนสมาชิกตัวสุดท้ายเช่น S={1, 2 , 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}

  3. ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ ..MathBRR. 2) วิธีบอกเงื่อนไขของสมาชิก (Set builder form) หลักการเขียนมีดังนี้ เขียนเซตด้วยวงเล็บปีกกา กำหนดตัวแปรแทนสมาชิกทั้งหมดตามด้วยเครื่องหมาย | (| อ่านว่า "โดยที")่ แล้วตามด้วยเงื่อนไขของตัวแปรนั้น ดังรูปแบบ {x | เงื่อนไขของ x แบบใช้เงื่อนไข (Predicate form) เขียนในรูป S = { x / P(x) } อ่านว่า S คือเซตของทุก x ที่มีคุณสมบัติ P S = { x / x เป็นจำนวนเต็มบวก 10 ตัวแรก}

  4. ตัวอย่าง ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ ..MathBRR. 1.ให้ V แทนเซตของสระในภาษาอังกฤษ V = {a, e, I, o, u} 2.ให้ Oแทนเซตของเลขจำนวนเต็มบวกคี่ที่มีค่าน้อยกว่า 10 จะเขียนแทนด้วย O = {1, 3, 5, 7, 9} ข้อตกลง ต่อไปจะเขียนสัญลักษณ์แทนเซตที่ใช้บ่อยดังนี้ = เซตว่าง R = เซตของจำนวนจริง N = เซตของจำนวนเต็มธรรมชาติ I = เซตของจำนวนเต็ม

  5. ลักษณะของเซต ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ ..MathBRR. เซตว่าง (Empty Set) คือ เซตที่ไม่มีสมาชิกเลย เขียนแทนด้วย { } หรือ (phi) เช่น เซตของจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 1 กัน 2 เซตของสระในคำว่า "อรวรรณ" เซตจำกัด (Finite Set) คือ เซตที่มีจำนวนสมาชิกเท่ากับจำนวนเต็มบวก หรือ ศูนย์ เช่น มีจำนวนสมาชิกเป็น 0 {1, 2, 3, ...,100} มีจำนวนสมาชิกเป็น 100 เซตอนันต์ (Infinite Set) คือ เซตที่ไม่ใช่เซตจำกัด ไม่สามารถบอกจำนวนสมาชิกได้ เช่น เซตของจำนวนเต็มบวก {1, 2, 3, ...} เซตของจุดบนระนาบ

  6. การเท่ากันของเซต ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ ..MathBRR. นิยาม ให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า เซต A เท่ากับเซต B เขียนแทนด้วย A = B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกของเซต A และ B เหมือนกันทุกตัว ตัวอย่าง X = { 1,3,5,6 } Y = { 6, 3, 1, 5, 6 } จะได้ว่า X = Y

  7. ตัวอย่าง ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ ..MathBRR.

  8. เซตที่เทียบเท่ากัน เซตที่เทียบเท่ากัน (Equivalentl Sets) คือ เซตที่มีจำนวนสมาชิกเท่ากัน และสมาชิกของเซตจับคู่กันได้พอดีแบบหนึ่งต่อหนึ่ง สัญลักษณ์เซต A เทียบเท่ากับ เซต B แทนด้วย A B ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ ..MathBRR.

  9. ครูนิชาภัทร ศรีจันทร์ ..MathBRR. หมายเหตุ 1. ถ้า A = B แล้ว A B 2. ถ้า A B แล้ว ไม่อาจสรุปได้ว่า A = B

  10. http://youtu.be/zcc1_C5OCmA ที่มา : ทวี บุญช่วย , วารสารไฮเอ็ด ม.ปลาย (วิทย์), ปีที่ 1 ฉ. 1 พฤษภาคม 2539

More Related