1 / 32

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช. คือ วัตถุมีพิษที่นำมาใช้ป้องกันกำจัดศัตรูพืช สัตว์ และมนุษย์ ทั้งในการเกษตร อุตสาหกรรมและ สาธารณสุข. ผลกระทบต่อสุขภาพ. เมื่อได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเข้าร่างกาย จะเกิดปฎิกิริยาเคมีกับเอนไซม์ในร่างกาย มีผลทำให้เกิดการขัดขวางการทำหน้าที่ตามปกติ

cadee
Download Presentation

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สารเคมีกำจัดศัตรูพืช คือ วัตถุมีพิษที่นำมาใช้ป้องกันกำจัดศัตรูพืช สัตว์ และมนุษย์ ทั้งในการเกษตร อุตสาหกรรมและ สาธารณสุข

  2. ผลกระทบต่อสุขภาพ เมื่อได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเข้าร่างกาย จะเกิดปฎิกิริยาเคมีกับเอนไซม์ในร่างกาย มีผลทำให้เกิดการขัดขวางการทำหน้าที่ตามปกติ ของระบบประสาททั้งในคนและสัตว์

  3. ความเป็นพิษ ขึ้นกับคุณสมบัติสารเคมีแต่ละชนิด วิธีการได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย ปริมาณความถี่ สุขภาพของผู้ได้รับสารพิษ อาการที่ปรากฏ อ่อนเพลีย ปวดศรีษะ มึนงง หายใจลำบาก แน่นในอก คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน กล้ามเนื้อโดยเฉพาะที่ลิ้นและหนังตา กระตุก ชักหมดสติ

  4. ผักสด ผลไม้สด ตัวอย่างเป้าหมาย วิธีการตรวจสอบ ใช้ชุดทดสอบตรวจ

  5. ชุดทดสอบหายาฆ่าแมลงในอาหารชุดทดสอบหายาฆ่าแมลงในอาหาร (กลุ่มฟอสเฟต, คาร์บาเมต)

  6. เกณฑ์กำหนด ปริมาณสารเคมี กำจัดศัตรูพืชกลุ่มสารประกอบ ฟอสเฟตและหรือสารคาร์บาเมต ที่ให้ผลขัดขวาง การทำงานของเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส ได้ไม่เกิน ร้อยละ 50 ผักสด ผลไม้สด ตัวอย่างเป้าหมาย ปลาเค็ม

  7. อุปกรณ์ชุดทดสอบ อุปกรณ์อื่น น้ำยาสกัด 1 ถาดน้ำอุ่น เทอร์โมมิเตอร์ น้ำยาสกัด 2 อุปกรณ์ระเหยตัวอย่าง จีที 1 หลอดหยดพลาสติก จีที 2 จีที 2.1 หลอดหยดแก้ว จีที 3 จีที 3.1 หลอดทดลอง จีที 4 ขวดพลาสติก จีที 5 ที่ตั้งหลอด คู่มือชุดทดสอบ

  8. อุณหภูมิ 35 - 37 องศา C

  9. 4 ขีด = 1 มิลลิลิตร 2 ขีด = 0.5 มิลลิลิตร 1 ขีด ครึ่ง

  10. ขั้นตอนการทดสอบ หั่นให้เล็ก ๆ

  11. ตักประมาณ 5 กรัม ใส่ขวดพลาสติก สูง 2 ขีด ผัก ผลไม้ ที่มีน้ำมาก ตักประมาณ 2.5 กรัม ใส่ขวดพลาสติก สูง 1 ขีด

  12. เติมน้ำยาสกัด 1 …..5 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ประมาณ…... 15 นาที

  13. ดูดน้ำยาจากสารละลายสกัดตัวอย่าง 1 มิลลิลิตร กรณี ผัก ผลไม้ ที่มีน้ำมากดูดสารละลายสกัด 2 มิลลิลิตร

  14. เติมน้ำยาสกัด 2 …..1 มิลลิลิตร

  15. ระเหยจนชั้นล่าง (สกัด 1) จนแห้ง ต้งแต่ขั้นตอนนี้ทำในอ่างน้ำอุ่น

  16. หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 หลอดที่ 3 ดูดน้ำยาสกัด 2 จำนวน 1 ขีด (0.25 มล.) ดูดน้ำยาจากสกัดตัวอย่าง จำนวน 1 ขีด (0.25 มล.) เติมน้ำยา GT 1 จำนวน 2 ขีด (0.50 มล.)

  17. เติมน้ำยา GT 1 จำนวน 2 ขีด (0.50 มล.) (30 นาที) ทิ้งไว้ 5 - 10 นาที

  18. ระหว่างรอเวลา ผสมสารละลายดังนี้ GT 2.1 ลงใน GT 2 GT 3.1 ลงใน GT 3

  19. หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 เติมน้ำยา GT 2 ผสม จำนวน 1.5 ขีด (0.375 มล.) เติมน้ำยา GT 2 ผสม จำนวน 1 ขีด (0.25 มล.) ทิ้งไว้ 30 นาที ตามเวลาที่เขียนไว้ที่ GT 1

  20. หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 เติมน้ำยา GT 3 ผสม จำนวน 4 ขีด (1 มิลลิลิตร)

  21. หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 เติมน้ำยา GT 4 จำนวน 2 ขีด (0.50 มิลลิลิตร)

  22. หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 เติมน้ำยา GT 5 จำนวน 2 ขีด (0.50 มิลลิลิตร)

  23. อ่านผล หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 หลอดที่ 3

  24. อ่านผล หลอดที่ 3สีอ่อนหรือเท่ากับ หลอดที่ 2 ไม่พบยาฆ่าแมลง หลอดที่ 2 หลอดที่ 3

  25. อ่านผล หลอดที่ 3สีอ่อนกว่า หลอดที่ 1 แต่เข้มกว่าหลอดที่ 2 พบยาฆ่าแมลง อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2

  26. อ่านผล หลอดที่ 3สีเข้มกว่าหรือเท่ากับ หลอดที่ 1 หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 พบยาฆ่าแมลงในปริมาณมากเกินค่าความปลอดภัย

  27. แนวทางการปฎิบัติเมื่อใช้ชุดทดสอบเสร็จแล้วแนวทางการปฎิบัติเมื่อใช้ชุดทดสอบเสร็จแล้ว 1. ผักที่มีน้ำยาสกัด 1 แช่อยู่ในขวดพลาสติก ให้เทใส่ภาชนะปากกว้าง นำไปวางกลางแดดหรือวางที่โล่งแจ้งให้น้ำยาระเหยหมด ก่อนที่นำไปทิ้ง (ระวังอย่าวางใกล้เปลวไฟ ทำให้น้ำยาสกัด 1 ติดไฟได้) 2. น้ำยาสสมจีที 2 และ น้ำยาผสมจีที 3 เมี่อผสมแล้วเก็บในตู้เย็น ใช้ได้ 1 สัปดาห์

  28. ข้อควรระวัง น้ำยาทดสอบบอแรกซ์ 1 มีสภาพเป็นกรด หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ให้ล้างด้วยน้ำและฟอกสบู่ให้สะอาด อย่าวางชุดทดสอบไว้ไกล้มือเด็ก

  29. ข้อควรระวัง น้ำยาที่ใช้ในการตรวจ หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ให้ล้างด้วยน้ำและฟอกสบู่ให้สะอาด อย่าวางชุดทดสอบไว้ไกล้มือเด็ก

  30. การเก็บรักษาชุดทดสอบ เก็บในตู้เย็น 4 องศาเซลเซียส อายุการใช้งาน 6 เดือน

  31. คำแนะนำเพื่อความปลอดภัยในการบริโภคคำแนะนำเพื่อความปลอดภัยในการบริโภค ล้างผักและผลไม้ด้วยน้ำสะอาดหลาย ๆ ครั้ง แช่ผักและผลไม้ในน้ำยาล้างผัก และล้างน้ำยา ให้หมดด้วยน้ำสะอาดหลาย ๆ ครั้ง ผักและผลไม้ที่ปอกเปลือกได้ ควรล้างน้ำ ให้สะอาดก่อนปอกเปลือก การต้มจะช่วยลดปริมาณสารเคมีในผักสดได้

  32. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรังศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรัง

More Related