1 / 26

การบริหารทรัพยากรบุคคลแนวใหม่

การบริหารทรัพยากรบุคคลแนวใหม่. โดย พรรณพร พงษ์สามารถ วันอังคารที่ 14 พฤศจิกายน 2549. หัวข้อการนำเสนอ. ความเป็นมา มาตรฐานความสำเร็จของการบริหารทรัพยากรบุคคล. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. มีเจ้าภาพ ชัดเจน. มุ่งผลสัมฤทธิ์. แข่งขันได้. ประเมิน/ วัดผลได้. การใช้เทคโนโลยี.

Download Presentation

การบริหารทรัพยากรบุคคลแนวใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารทรัพยากรบุคคลแนวใหม่การบริหารทรัพยากรบุคคลแนวใหม่ โดย พรรณพร พงษ์สามารถ วันอังคารที่ 14 พฤศจิกายน 2549

  2. หัวข้อการนำเสนอ • ความเป็นมา • มาตรฐานความสำเร็จของการบริหารทรัพยากรบุคคล

  3. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีเจ้าภาพ ชัดเจน มุ่งผลสัมฤทธิ์ แข่งขันได้ ประเมิน/ วัดผลได้ การใช้เทคโนโลยี คุณภาพการบริการ การบริหารราชการยุคใหม่

  4. 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ หลักการบริหาร กิจการบ้านเมือง ที่ดี 3. มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ 4. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น 5. ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์ 6. ประชาชนได้รับความสะดวกและได้รับการตอบสนอง 7. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  5. วิวัฒนาการการบริหารทรัพยากรบุคคลวิวัฒนาการการบริหารทรัพยากรบุคคล Human Capital Management เน้นที่มูลค่าเพิ่ม ในการบริหารคน Human Resource Personnel Management เน้นที่กระบวนการ Personnel Administration

  6. ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์การบริหารยุทธศาสตร์/กลยุทธ์การบริหาร ทรัพยากรบุคคล, การสร้างผู้นำ แผนพัฒนาบุคลากรตามหลัก สมรรถนะ, ระบบประเมินผลงาน การบริหารตำแหน่งและอัตรากำลัง การฝึกอบรม สรรหา,บรรจุ,แต่งตั้ง,เงินเดือน, สวัสดิการ และงานวินัย HUMAN CAPITAL MANAGEMENT การกำหนดกลยุทธ์การ บริหารทรัพยากรบุคคล (Strategy Development & leadership) การพัฒนาระบบบริหารงานบุคคล Workforce Management การบริหารจัดการระบบงานบุคคล Process Management กิจกรรมขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับตัวบุคคล Transaction Processing

  7. พ้นจากงาน ราชการ สรรหา พัฒนา รักษาไว้ ใช้ประโยชน์ หน้าที่ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล wellcome to dit.

  8. การบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ (Strategic Human Resource management) HR Alignment การกำหนด ทิศทางการ การบริหาร งานบุคคล การพัฒนา ขีดความสามารถ บุคลากร เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ การพัฒนา สิ่งจูงใจ HR Motivation HR Capabilities HR Direction/ Strategy

  9. การบริหารเชิงรับ 1) กิจกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลจะออกแบบเฉพาะเรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคลเท่านั้น 2) การบริหารแบบมุ่งเน้นธุรการงานบุคคล 3) ลำดับความสำคัญของการบริหารทรัพยากรบุคคลมักจะสอดคล้องกับกิจกรรมประจำวัน (routine) ของการบริหารทรัพยากรบุคคล 4) หน่วยงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลรับผิดชอบการบริหารทรัพยากรบุคคลในองค์กร การบริหารเชิงรุก 1) การบริหารแบบมุ่งเน้นการเพิ่มผลผลิตโดยผ่านทรัพยากรบุคคล 2) กิจกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลต้องสัมพันธ์ และสอดคล้องกับแผนธุรกิจ 3) ลำดับความสำคัญของการบริหารทรัพยากรบุคคลต้องสอดคล้องกับลำดับความสำคัญของกลยุทธ์องค์กร 4) ผู้บริหารตามสายงาน/หน่วยงาน และหน่วยงานด้านทรัพยากรบุคคลร่วมกันรับผิดชอบในการบริหารทรัพยากรบุคคล The New HRM: A shift in Mindset

  10. หลักสมรรถนะ (Competency Based) หลักความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน (HRM Flexibility) หลักผลงาน (Performance Based) หลักกระจายอำนาจ (HR Decentralization) หลักคุณธรรม (Merit Based) หลักการบริหารทรัพยากรบุคคลแนวใหม่

  11. กระบวนการบริหารลูกค้ากระบวนการบริหารลูกค้า การบริหารกระบวนการ การวางระบบบริหารจัดการ สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ : หลักการจัด ระเบียบ ข้าราชการ พลเรือน ค่านิยม สร้างสรรค์ แผนกลยุทธ์การบริหาร ทรัพยากรบุคคล การบริหารการ เปลี่ยนแปลง กรอบมาตรฐานความสำเร็จ 5 มิติ หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี นโยบายรัฐบาล : สร้างเสถียรภาพและความมั่นคงก้าวหน้าในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม แผน ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ -วิสัยทัศน์ -พันธกิจ -เป้าประสงค์ ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพของการ ปฏิบัติราชการ การพัฒนาองค์กร การบริหาร ทุนมนุษย์ การจัดการสารสนเทศ การบริหารความรู้ การติดตามและประเมินผล

  12. กรอบมาตรฐานความสำเร็จด้าน HR ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ ประสิทธิภาพของ การบริหาร ทรัพยากรบุคคล ความพร้อมรับผิด ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล มาตรฐาน ความสำเร็จ ประสิทธิผลของการบริหาร ทรัพยากรบุคคล คุณภาพชีวิต: ความสมดุลระหว่าง ชีวิตและการทำงาน

  13. มิติที่ 1 : ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic HR Alignment) นโยบาย แผนงาน และมาตรการด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคลสอดคล้องกับเป้าหมาย พันธกิจ ของส่วนราชการ(Strategic Alignment) มีการวางแผนและบริหารกำลังคน (Work Force Planning and Management) มีการบริหารกำลังคนกลุ่มที่มีทักษะและสมรรถนะสูง (Talent Management) มีการสร้าง พัฒนา และสืบทอดของตำแหน่ง (Continuity and Replacement Plan)

  14. สิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อสิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อ ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ • แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล • ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย HR เชื่อมโยงกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ • สื่อสารแผนกลยุทธ์ HR • ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล • แผนบริหารอัตรากำลัง • วิเคราะห์ความต้องการกำลังคนทั้งในปัจจุบันและอนาคต (จำนวน สมรรถนะ) • จัดอัตรากำลังที่เหมาะสม ชั้นการบังคับบัญชาไม่มากเกินความจำเป็น • การบริหารกำลังคนที่มีสมรรถนะสูง (Talent Management) • ระบุ “ตำแหน่งและสมรรถนะ” ที่จำเป็นต่อการบรรลุพันธกิจ และวิเคราะห์หา CompetencyGap • จัดทำกลยุทธ์และการลงทุนเพื่อดึงดูด สรรหา พัฒนา รักษาไว้ • การพัฒนาผู้นำ • วิเคราะห์ข้อมูลกำลังคนระดับหัวหน้างาน ระดับบริหาร และข้าราชการผู้มีสมรรถนะสูง ประเมินสมรรถนะ • วางกลยุทธ์การพัฒนา • ทำแผนพัฒนารายบุคคล

  15. มิติที่ 2 :ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Operational Efficiency) • กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล มีความถูกต้องและทันเวลา • มีระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากร บุคคลที่ถูกต้อง เที่ยงตรง ทันสมัย • ค่าใช้จ่ายในกิจกรรมและกระบวนการบริหาร ทรัพยากรบุคคล สะท้อนผลิตภาพกำลังคน และ ความคุ้มค่า • มีการใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล

  16. สิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อความมีสิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อความมี ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล • จัดระบบงานบุคคลเพื่อลดขั้นตอน ระยะเวลา • ประเมินความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล • จัดทำฐานข้อมูลกำลังคน • ระบบงานอัตโนมัติรองรับกิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล

  17. มิติที่ 3 : ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM Programme Effectiveness) • การรักษาไว้ซึ่งข้าราชการที่จำเป็นต่อการบรรลุเป้าหมาย พันธกิจของส่วนราชการ • ความพึงพอใจของข้าราชการและบุคลากร ต่อนโยบาย แผนงาน แผนงาน โครงการ และมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล • วัฒนธรรมและบรรยากาศการทำงานที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง • มีระบบการบริหารผลงาน และมีวิธีการประเมินผลการ ปฏิบัติราชการที่มีประสิทธิผล ซึ่งเชื่อมโยงกับผลตอบแทน

  18. สิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อสิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อ ความมีประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล • การรักษากำลังคนที่จำเป็นต่อการบรรลุเป้าหมาย • หา Competency Gaps • กำหนดกลยุทธ์เพื่อลด Competency Gapsเช่น แผนความก้าวหน้า • การออกแบบสิ่งจูงใจ • การเรียนรู้และพัฒนา • ระบบการจัดการความรู้ ระบบเครือข่ายเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน • Action Learning • ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) • การถ่ายทอดเป้าหมายยุทธศาสตร์ไปสู่ผู้บริหารระดับรองลงไป • การจำแนกความแตกต่างและจัดลำดับผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ

  19. มิติที่ 4 :ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Accountability) • การรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ และผลของการตัดสินใจ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และการดำเนินการ ทางวินัย บนหลักการของความสามารถ หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม หลักมนุษยธรรม • ความโปร่งใสของกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล และพร้อมให้มีการตรวจสอบ

  20. สิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อสิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อ ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล • กระบวนการและการตัดสินใจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลที่โปร่งใส • การกำหนดกลยุทธ์การสื่อสาร/ถ่ายทอดกลยุทธ์และการดำเนินงานต่างๆ • มีช่องทางให้ข้าราชการทุกระดับซักถามและรับฟังคำชี้แจงในขั้นตอน กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล • การสำรวจความพึงพอใจต่อการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคล • ราชการใสสะอาด

  21. มิติที่ 5 :คุณภาพชีวิตและความสมดุลของชีวิตและการทำงาน (Quality of Work Life) • ความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการทำงาน และระบบงาน • การจัดสวัสดิการและสิ่งอำนวยความสะดวก เพิ่มเติมจากสวัสดิการตามกฏหมาย • ความสัมพันธ์อันดีระหว่างฝ่ายบริหารกับข้าราชการ ผู้ปฏิบัติงาน และระหว่างข้าราชการและผู้ปฏิบัติงาน ด้วยกันเอง

  22. สิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อสิ่งที่ส่วนราชการควรดำเนินการเพื่อ คุณภาพชีวิตและความสมดุลของชีวิตและการทำงาน • สภาพแวดล้อมการทำงานที่ทันสมัย • ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับการปฏิบัติงาน การพัฒนา และการบริการประชาชน • การสำรวจความพึงพอใจของข้าราชการต่อสภาพแวดล้อมการทำงาน • สวัสดิการ • การจัดให้มีการจัดสวัสดิการภายในเพิ่มเติมจากที่กฎหมายกำหนด • การสำรวจความพึงพอใจของข้าราชการต่อสวัสดิการ • การเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดี • สร้างบรรยากาศและมีกิจกรรมที่ผ่อนคลายแก่ข้าราชการ • การสำรวจความพึงพอใจของข้าราชการต่อบรรยากาศการทำงาน

  23. ทำไม?ถึงต้องมีการประเมินทำไม?ถึงต้องมีการประเมิน • If you can’t measure, you can’t • manage. • If you can’t measure, you can’t • improve. • what gets measure, gets done. ประเมินตนเอง : ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

  24. Scorecardกับกระบวนการสร้างคุณค่า (Values) ให้กับองค์กร วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) Scorecard Measure and Focus เป้าหมายและแผนงานรองรับ (Targets and Initiatives) What We Need to Do เป้าหมายบุคคล (Personal Objectives) What I Need to Do ผลลัพธ์ทางกลยุทธ์ (Strategic Outcomes) ความพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความพอใจของลูกค้า กระบวนการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การเตรียมกำลังคนและขวัญกำลังใจ

  25. ? ? ? ข้าราชการและผู้ปฏิบัติงานมีพร้อมที่จะก้าวเดินไปทิศทางเดียวกัน แผนงานของส่วนราชการเชื่อมโยงกับนโยบายและพันธกิจขององค์กร เป็นระบบหรือไม่ ข้าราชการและผู้ปฏิบัติงานขาดความมุ่งมั่นในการทำงานและขาดความรับผิดชอบต่อผลของการทำงาน ? ? มีกฎระเบียบด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ยุ่งยาก ซับซ้อน ไม่คล่องตัว มีคนล้นงาน ใช้คนไม่ตรงกับงาน ขาดกำลังคนที่มีความสามารถ ? หน่วยงาน การเจ้าหน้าที่ ช่วยอะไรไม่ได้ ? ? กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความโปร่งใสเป็นธรรม ทำงานหนักแต่ไม่รู้ว่าทำไปทำไม และผลตอบแทนก็ไม่คุ้มค่า ? ? ? ข้าราชการและผู้ปฏิบัติงานมีความเครียดกับสภาพ แวดล้อมในการทำงานและความสัมพันธ์ที่ไม่ดี ข้าราชการและผู้ปฏิบัติงานจากต่างสำนัก/กองมีแนวทางในการทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าหมายโดยรวมของกรม ดีแต่อบรม แต่ไม่เห็นช่วยให้ผลการปฏิบัติงานดีขึ้น ปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นกับองค์กรหรือไม่?และจะแก้ปัญหาเหล่านี้อย่างไร

  26. The End Thank You !

More Related