1 / 22

ประสบการณ์เด่น ชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน (ชพส.)

ประสบการณ์เด่น ชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน (ชพส.). ร้อยเอก พีระพล ประภาสโนบล ประธานกลุ่ม ร้อยเอก ณัฐ เหมือนบุดดี เลขานุการ ร้อยเอก ประกอบ มั่นอ้น ผู้นำเสนอ. กรอบกิจกรรมหลัก ชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน (ชพส.). ๑.การเตรียมหมู่บ้าน/ชุมชน ANALYSIS ๒.การแก้ปัญหาของชุมชนโดยสันติวิธี PLANNING

Download Presentation

ประสบการณ์เด่น ชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน (ชพส.)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประสบการณ์เด่นชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน (ชพส.) ร้อยเอก พีระพล ประภาสโนบล ประธานกลุ่ม ร้อยเอก ณัฐ เหมือนบุดดี เลขานุการ ร้อยเอก ประกอบ มั่นอ้น ผู้นำเสนอ

  2. กรอบกิจกรรมหลัก ชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน (ชพส.) ๑.การเตรียมหมู่บ้าน/ชุมชน ANALYSIS ๒.การแก้ปัญหาของชุมชนโดยสันติวิธี PLANNING ๓.การพัฒนาเสริมความมั่นคง MATCHING & PEOPLE UPRIZING ๔.การติดตามประเมินผล MONITOR & EVALUATION

  3. รายชื่อพื้นที่เป้าหมายประสบการณ์เด่นรายชื่อพื้นที่เป้าหมายประสบการณ์เด่น ชพส.1101หมู่ที่ 8 น้อยพัฒนา ตำบลทับเสด็จ อำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว ชพส.1105 หมู่ที่ 7 บ้านหนองปรือ ตำบลผ่านศึก อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ชพส.1201 ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ชพส.1205 ตำบลบ้านคา อำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ชพส.1301หมู่ที่ 5 เตาถ่าน ตำบลทุ่งขนาน อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ชพส.1305หมู่ที่ 7 บ้านคลองขัด ตำบลท่ากุ่ม อำเภอเมือง จังหวัดตราด ชพส.2112 ตำบลนากั้ง อำเภอปากคาด จังหวัดหนองคาย ชพส.2118 ตำบลดงขวาง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม ชพส.2204 ตำบลเขมราฐ อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ชพส.2211ตำบลคำเขื่อนแก้ว อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

  4. รายชื่อพื้นที่เป้าหมายประสบการณ์เด่น(ต่อ)รายชื่อพื้นที่เป้าหมายประสบการณ์เด่น(ต่อ) ชพส.3104ตำบลแม่สอด อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ชพส.3114ตำบลแม่ฮี้ อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ชพส.3206ตำบลป่าตึงอำเภอแม่จันจังหวัดเชียงราย ชพส.3213ตำบลตับเต่าอำเภอเทิงจังหวัดเชียงราย ชพส.4101หมู่ที่1บ้านบางแก้วน้อยตำบลบางแก้วอำเภอละมุดจังหวัดระนอง ชพส.4105หมู่ที่5บ้านฝ่ายท่าตำบลนาคาอำเภอสุขสำราญจังหวัดระนอง รพศ.513 หมู่ที่ 1 บ้านเลาวู ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ รพศ.516 ตำบลท่าตอน อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่

  5. ๑. การเตรียมหมู่บ้าน/ชุมชน(ANALYSIS) • ๑.๑ การกำหนดพื้นที่เป้าหมาย โดย - กองกำลัง/กองร้อย/ส่วนแยก กำหนด - ชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน กำหนด - กองกำลัง/กองร้อย/ส่วนแยก และชุดพัฒนาสัมพันธ์มวลชน ร่วมกันกำหนด ๑.๒ การสำรวจข้อมูล/สืบสภาพ - การประชุมพบปะผู้นำกลุ่มต่างๆ ๑.๓ การเปิดประชุมแบบมีส่วนร่วม -

  6. ๒.การแก้ไขปัญหาของชุมชนโดยสันติวิธี (PLANNING) • ๒.๑ การนำเสนอวิกฤติปัญหาเข้าสู่แนวทางการแก้ไขปัญหา

  7. ๓.การเสริมสร้างความมั่นคง MATCHING & PEOPLE UPRIZING • ๓.๑ ปจว/ปชส. • การออกเสียงตามสาย แต่จะได้ภาพรวม ไม่ค่อยได้ผลเท่าที่ควร • การวิเคราะห์ MET3 • การพบปะโดยตรง (ป้องกันการผิดพลาด) โดยเลือกกลุ่มคนดีก่อน กลุ่มคนไม่ดีใช้การพูดที่รุนแรง • เข้าพบปะกับนักค้าและผู้สนับสนุน เพื่อให้หยุดพฤติการณ์ เน้นผู้สนับสนุน • การเยี่ยมเยียนชาวบ้านลงในครัวเรือนเพื่อรับรู้สภาพปัญหาโดยตรง และจะได้ข้อมูลที่ค่อนข้างตรงและถูกต้อง เช่น การเขียนจดหมายน้อย • การคัดแยกบุคคลออกเป็น ๓ กลุ่ม สีขาว สีเทา สีดำ(ต้องเข้าไปที่มีอิทธิพลสูงสุด ใช้การยุให้แตกแยกกัน) • ใช้การป้องปราม เช่น การนำรถยนต์ราชการไปจอดไว้หน้าบ้าน • การทำ ปจว./ปชส จะทำพร้อมกันทั้ง ผู้ค้า/ผู้เสพ/ผู้สนับสนุน แหล่งมั่วสุมต่างๆ • การเตรียมสถานการณ์ให้พร้อมอยู่เสมอ และต้องเฝ้าระวังตลอดเวลา • การทำพันธะสัญญากับกลุ่มต่างๆโดยให้ทุกกลุ่มเข้ามาทำสัญญาต่อกัน • การเรียกเข้ามาเพื่อเข้าร่วมโครงการทำความดีเพื่อถวายในหลวง และหลังจากนั้นเข้าไปพบปะโดยตรงตัวต่อตัว

  8. ๓.การเสริมสร้างความมั่นคง MATCHING & PEOPLE UPRIZING • ๓.๒ การจัดตั้งกองทุนยาเสพติดชุมชน นำไปสู่กองทุนแม่ของแผ่นดิน - การสร้างความรู้เรื่องกองทุนยาเสพติดให้กับประชาชน เช่น ตระหนัก ระดมทุน กลไกเบิกจ่าย วิธีการดำเนินงานของกองทุน วัตถุประสงค์ ข้อจำกัด วิธีการใช้จ่ายเงินทุน เงื่อนไขมี ๑๖ เงื่อนไข • การขอความเห็นจากชาวบ้าน เพื่อระดมทุนป้องกันยาเสพติด เช่น จะต้องจัดตั้งกองทุนยาเสพติด • เสนอขอรับพระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน แล้วระดมทุน เช่น การแลกเงินขวัญถุง การขายเสื้อ การทอดผ้าป่า • การเสนอรายชื่อกองทุนแม่ของแผ่นดินไม่ผ่านการตรวจสอบ ส่งผลให้กองทุนไม่มีการระดมทุนและไม่ทราบวัตถุประสงค์หรือการขยายกองทุน กรอบการใช้จ่ายเงินกองทุน ชาวบ้านไม่กล้าใช้ เพราะเงินศักดิ์สิทธิ์กลัวบาป บางชุมชนต้องการคืนเงินกลับ • การเพิ่มทุน บริจาคกันเอง ทอดผ้าป่า นักการเมืองท้องถิ่นบริจาค(เพื่อหาเสียง) • ทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วมโดย ชพส.เข้าไปแนะนำให้กับชาวบ้านและกำหนดแนวทางการดำเนินการ • ปปส.กำหนดจำนวนกองทุนแม่ แล้วคัดเลือกเข้ารับกองทุน แต่ อ.จะคัดเลือกจากที่ได้สร้างไว้ ส่งผลให้เกิดความแตกแยกในการคัดเลือก • การระดมทุนกองทุนแม่ของแผ่นดิน บางหน่วยไปกำหนดจำนวนเงินที่ต้องบริจาค ประชาชนคิดว่าเป็นการถอนทุนคืนและทำลายความศักดิ์สิทธิ์ของกองทุนไม่ควรเน้นปริมาณที่บริจาคมากเกินไป

  9. ๓.การเสริมสร้างความมั่นคง MATCHING & PEOPLE UPRIZING • ๓.๓ การจัดตั้ง ราษฎรอาสาป้องกันภัยยาเสพติด (รสปส.) วิธีการจัดตั้ง คือ ๓.๑ การคัดเลือกจาก ประชาชนทั่วไป ญาติ ผู้เกี่ยวข้อง กลุ่มผู้เสพ ผู้ติด เช่น มีตัวแทนของทุกแซ่ อย่างน้อย ๑ คน (เชียงราย) การคัดเลือกจากชุด ผู้ใหญ่บ้านจัดหา (ระนอง) ๓.๒ การมอบภารกิจ (ระนอง) นำ รสปส.เข้าโครงการจิตอาสาให้ลูกหลานพ้นภัยยาเสพติด(ลูกไก่ แม่ไก่) ให้แจ้งข่าวกลุ่มอพยพโรฮิงยา การแจ้งข่าวนักค้ายาเสพติด (๒๒๑๑ สย๒)ประสานและจัดตั้งชุดเฝ้าระวังหมู่บ้านชุมชน ตั้งจุดตรวจจุดสกัด การลาดตระเวนตามแนวชายแดนหมู่บ้านละ ๒ วัน (ภาค๑ สย๒) นำมาฝึกอบรมอีกครั้ง เพื่อประสานแหล่งข่าวในระหว่างหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดความสนิทสนมกัน ๓.๓ หลักสูตรการฝึกอบรม มีอะไรบ้าง ใช้ระยะเวลากี่วัน ๓.๔ การพัฒนาองค์ความรู้ การดูงาน ปฏิบัติจริง เช่น การเลี้ยงกบ ๓.๕ แผนการดำเนินงาน ต้องมีการดำเนินงานเพื่อให้ลุกขึ้นแก้ไขปัญหาของชุมชน ฝึกนำไปสู่การเป็นวิทยากรชาวบ้าน การให้เป็นอาสาสมัครชุมชน เพื่อให้เกิดการเฝ้าระวังปัญหาในพื้นที่ ๓.๖ การประเมินผล การเกิดความเคลื่อนไหวของประชาชนในการแก้ไขปัญหา และต้องมอบภารกิจภัยต่างๆที่ กอ.รมน.รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ปัญหา อย่าเร่งผลิตจำนวนมากเกินไป และงบประมาณล่าช้า ควรให้ตรงกับช่วงที่ประชาชนว่างจากการประกอบอาชีพหลัก

  10. ๓.การเสริมสร้างความมั่นคง MATCHING & PEOPLE UPRIZING ๓.๔ การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน (กองทุนแม่ก่อน) มี ๒ ระดับ - ระดับหมู่บ้าน (LC1) ให้ความรู้เรื่องยาเสพติดและเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถแกไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนได้ - ระดับตำบล (LC2) มีการให้ความรู้โดยวิทยากรให้กับประชาชนทั่วไป

  11. ๓.การเสริมสร้างความมั่นคง MATCHING & PEOPLE UPRIZING ๓.๕ กระบวนการ (พัฒนากลุ่มเสี่ยง) บำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด ยาเสพติด - โครงการฝากเลี้ยงโดยทหาร (จะไม่ใช้คำว่าบำบัด) เน้นหลักจิตวิทยา ค่าใช้จ่ายวันละ ๓๐ บาท (มินิวิวัฒน์พลเมือง) - การคัดกรอง โดยผู้นำชุมชน ชวม.(ชุดทางสายใหม่) รสปส.เพื่อบำบัดในชุมชนโดยชุมชน - สำรวจ/สืบสภาพ (ปัญหา มหาดไทยสั่ง จ.ระนอง ให้นำเยาวชน จำนวน ๓๐๐ คนเข้ารับการบำบัด จึงต้องนำเด็กที่เสี่ยง สูบบุหรี่เข้ารับการบำบัดรักษา หลังจากผ่านการบำบัดแล้ว กลายเป็นเด็กติดยาเสพติดแทน ติดอยู่ในบัญชีรายชื่อผู้ติดยาเสพติดแทน กอ.รมน.จังหวัด นำเด็กเข้าไปบำบัดกลายเป็นเด็กติดยา สอบเข้าโรงเรียนพลตำรวจไม่ได้ ) - ชักชวน/แก้ไขปัญหา โครงการบำบัดโดยชุมชน โดยใช้มาตรการอภัยทางสังคม การให้คำปรึกษา การสร้างความตระหนัก ในการตรวจเยี่ยมเพื่อมิให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด - ยืนยัน

  12. ๓.การเสริมสร้างความมั่นคง MATCHING & PEOPLE UPRIZING • ๓.๖ การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน - รั้วกินได้ ป้ายสวยงาม ชุมชนปลอดยาเสพติด

  13. ๔.การติดตามและประเมินผล (MONITOR & EVALUATION) ๔.๑ การติดตามโดยชุด ชพส. - ชุด จะสอบถามความพึงพอใจของประชาชน แล้วนำมาสรุปอีกครั้งว่า ประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวอย่างไร - ประเมินผลการทำงานของตัวเอง

  14. ๔.การติดตามและประเมินผล (MONITOR & EVALUATION) ๔.๒ การติดตามโดย กอ.รมน.ภาค/กอ.รมน.ภาค สย./นสศ. • จะตรวจติดตามประเมินผล ๓ เดือนครั้ง • ชุด ฉก. จะตรวจสอบเดือนละ ๑-๒ ครั้ง • ภาค ๔ จะตรวจสอบ ๒ เดือนครั้ง ปัญหาอุปสรรค มีฝ่ายนโยบายหลายหน่วยงานเข้ามาทำให้ต้องมีหลายภารกิจ

  15. ๔.การติดตามและประเมินผล (MONITOR & EVALUATION) ๔.๓ การติดตามระดับนโยบาย • กองทัพภาค ตรวจติดตามประเมินผล • ศปป.๑ ตรวจติดตามประเมินผล • ศปป.๖ ออกตรวจเยี่ยมเศรษฐกิจพอเพียง

  16. ๔.การติดตามและประเมินผล (MONITOR & EVALUATION) ๔.๔ การประเมินผลภายใน INSIDE OUT ๔.๔.๑ การประเมินจากหน่วยงานภายใน โดย ศปป.๑ กอ.รมน. • ชพส.๑ ปีละครั้ง สืบสภาพ วิเคราะห์ • ชพส.๒ ทุกเดือน งานที่ดำเนินงาน ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน • ชพส.๓ • ชพส. ๓ ก แผนการดำเนินงาน • ชพส. ๓ ข การตรวจสอบ RE X-RAY ๔.๔.๒ ภาค ๑สย.๒ มีการตั้งกรรมการสำหรับไปตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน

  17. ๔.การติดตามและประเมินผล (MONITOR & EVALUATION) ๔.๕ การติดตามผลด้วยโปรแกรมเทคโนโลยีสารสนเทศ (รั้วชายแดน) - เป็นการติดตามถึงความก้าวหน้าผลการดำเนินงานของแต่ละ ชพส. - เป็นช่องทางการสื่อสารระหว่างกัน - ใช้เป็นฐานข้อมูลในการใช้ประโยชน์

  18. การตรวจ • มีแผนการตรวจ • มีกรอบเนื้อหาการตรวจ • มีการให้ข้อเสนอแนะ การแก้ไข การปรับปรุง

  19. ปัญหาอุปสรรค ๑. ยุทธศาสตร์ ๕ รั้วป้องกัน จะแยกการปฏิบัติ แต่ ชพส.ต้องทำงานบูรณาการทั้ง ๕ รั้ว จะมองว่าทหารต้องทำงานเฉพาะรั้วชายแดนเท่านั้น ๒. การขับเคลื่อนระดับท้องถิ่น บางกิจกรรมเกิดข้อจำกัดในการดำเนินงาน ต้องทำให้ทุกหน่วยมองว่ายาเสพติดเป็นภารกิจของทุกหน่วยงาน ๓. ความรู้/ทักษะ ไม่สามารถคัดเลือกเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมกับภารกิจได้ ๔. 4M เช่น กำลังพล ๑๒ นาย แต่ออกพื้นที่ ๑๐ นาย อีก ๒ นายต้องอยู่ในที่ตั้ง ควรเพิ่มเป็น ๑๕ นาย และเพิ่มงบประมาณ ขาดเครื่องมืออุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ กล้องถ่ายรูป อาวุธปืน เครื่องฉาย (ส่วนใหญ่ใช้ของส่วนตัว) 1T เช่น การกำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติภารกิจ ควรใช้เวลา ๓-๕ ปี (หน.ชพส.) ชพส.อย่างน้อยต้องอยู่ในพื้นที่ ๒ ปีเพื่อการทำงานต่อเนื่องและได้รับความร่วมมือจากประชาชน 1Cเช่น

  20. ปัญหาอุปสรรค ๕. องค์กร (ภาคราชการ ท้องถิ่น NGOเป็นต้น) เช่น การลงไปปฏิบัติการของชุดอื่น ไม่ได้ประสานกับ ชพส. เช่น ชุดปิดล้อมตรวจค้น หรือ ชุดเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ประชาชนจะมองว่า ชพส.เป็นผู้เข้ามาหาข้อมูลแล้วแจ้งกับหน่วยอื่นเข้ามาดำเนินการ - อบต. ของปาย มักจะให้ความร่วมมือกับ ชพส.เป็นอย่างดี - โรงเรียน/สถานีอนามัย - เชียงราย ถ้าทำงานดี ทุกหน่วยงานจะให้ความร่วมมือ - กองทัพภาค ๓ ประสานข้อมูลให้ล่วงหน้า ส่งผลให้ ชพส.สามารถทำงานได้ง่ายขึ้น

  21. ปัญหาอุปสรรค ๖. ข้อสั่งการระดับนโยบาย เช่น ๗. มีภารกิจจร/งานฝาก หรือรับผิดชอบมากกว่า ๑ ภารกิจ ในขณะเดียวกันงบประมาณเท่าเดิม ๘. การมอบหมายภารกิจที่ขัดแย้งกับบทบาทที่ได้รับ เช่น ทำงานมวลชนแต่ต้องปิดล้อมตรวจค้น/จับกุม ๙. ภาค ๒ สย.๑ ประสบปัญหาจากการปฏิบัติของชุดในอดีต

  22. ข้อเสนอแนะ ๑.ขอรับการแต่งตั้งและมีบัตรเจ้าพนักงาน ป.ป.ส. (พรบ.ปปส.ปี ๒๕๑๙) แต่งตั้งมีการคัดกรองให้ดี ๒.ขอมีบัตรอื่นๆ เช่น บัตร กอ.รมน.เพื่อความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ๓. การทำงานของ ชพส.ต้องมีกฎหมายรองรับ ๔. ต้องเสริมสร้างแรงจูงใจ ๕. สำรวจครุภัณฑ์ที่จำเป็นต่อการทำงานว่าขาดแคลนอะไรบ้าง ใช้ระบบการเช่า ซื้อ ยืม กองทุน ปปส. ชุดเสริมสร้างชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ชสพ.)

More Related