1 / 94

ผศ . ดร . เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

การพัฒนางานวิจัยในโรงพยาบาล : แนวคิดและแนวปฏิบัติ การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ผศ . ดร . เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. นโยบายการพัฒนาสาธารณสุขไทย. คุณภาพบริการ ประสิทธิภาพระบบบริการ ความเสมอภาค คุ้มทุน - คุ้มค่า. การปฏิบัติงานในระบบสุขภาพใหม่.

calix
Download Presentation

ผศ . ดร . เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนางานวิจัยในโรงพยาบาล: แนวคิดและแนวปฏิบัติ การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ผศ.ดร.เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

  2. นโยบายการพัฒนาสาธารณสุขไทยนโยบายการพัฒนาสาธารณสุขไทย • คุณภาพบริการ • ประสิทธิภาพระบบบริการ • ความเสมอภาค • คุ้มทุน-คุ้มค่า

  3. การปฏิบัติงานในระบบสุขภาพใหม่การปฏิบัติงานในระบบสุขภาพใหม่ • เน้นสุขภาพเชิงรุก • เน้นการดูแลที่ต่อเนื่อง • ส่งเสริมการทำงานแบบสหวิทยาการ • ส่งเสริมการใช้สารสนเทศและเครือข่ายข้อมูล • เน้นจริยธรรม

  4. เพิ่มการพัฒนาและใช้แนวปฏิบัติในคลินิก & EBP • เน้นที่ผลลัพธ์การดูแล • เน้นการใช้จ่ายที่คุ้มค่า • เน้นการตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจของผู้รับบริการ

  5. ยุคนี้ Knowledge-Based Society ต้องสร้างและจัดการกับความรู้ เพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง ให้เกิดบริการที่เป็นเลิศ

  6. Root of patient care provision • Trial and error • Experience based practice • Theory based practice • Research based practice

  7. การปฏิบัติการพยาบาลในยุคนี้การปฏิบัติการพยาบาลในยุคนี้ Evidence-Based Practice

  8. EBNP: การปฏิบัติการพยาบาลโดยอิงหลักฐานทางวิชาการ • การพยาบาลที่ลดแนวทางการปฏิบัติที่ไม่เป็นระบบ หรือตามความคิดเห็นส่วนบุคคล หรือสิ่งที่ทำสืบต่อกันมาโดย ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าดีหรือไม่ ปลอดภัยหรือไม่ โดยเน้นการใช้ผลงานวิจัยหรือข้อมูลที่บ่งบอกว่าเป็นการพัฒนาคุณภาพ รวมทั้งมติความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ เพื่อนำมาช่วยตัดสินใจในการปฏิบัติการพยาบาล • (Stetler & Marram, 1998)

  9. EBNP • การปฏิบัติการพยาบาลที่บูรณาการประสบการณ์ & ความรู้ความชำนาญของผู้ปฏิบัติ (Tacit K.) เข้ากับความรู้ที่ได้จากงานวิจัย (Explicit K.) • โดยเน้นที่ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นและมีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย • ร่วมกับคำนึงถึงความพึงพอใจของผู้ป่วย Best Practice

  10. ดังนั้น EBNP จึงเกิดขึ้นมาเพื่อ เน้นประสิทธิภาพของ Intervention และ ผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่คุ้มค่า การประกันคุณภาพการพยาบาล

  11. EBNP:Best Practices Knowledge Management R to R

  12. Update knowledge Research

  13. การศึกษาค้นคว้าเพื่อให้เกิดความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการและนำไปใช้ประโยชน์ได้ การศึกษาค้นคว้าหาข้อเท็จจริงในปัญหาที่สงสัย ภายในขอบเขตที่กำหนดไว้ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การวิจัย (Research) สร้างความรู้ใหม่

  14. กระบวนการศึกษาที่ดำเนินไปอย่างมีระบบและกฏเกณฑ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และตีความหมายของข้อมูล เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ถูกต้องต่อปัญหาหรือคำถามวิจัยที่ตั้งไว้ การวิจัย (Research) สร้างความรู้ใหม่

  15. R to R Routine to Research

  16. แนวคิดRoutine to Research โดยนำระบบการบริหารจัดการ ด้านการวิจัย มาเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล อย่างถูกต้องตามหลักวิจัย...R เป็นกระบวนการพัฒนา หรือสร้างองค์ความรู้ จากงานประจำ ของทีมการดูแลผู้ป่วย ที่พบว่าเกิดปัญหาหรือต้องการพัฒนา การปฏิบัติงานประจำนั้นๆ ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น.....R ผลการวิจัยที่ได้ เมื่อนำไปใช้ จะทำให้เกิดการพัฒนา การปฏิบัติงานประจำ ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น...R

  17. การพัฒนางานประจำ สู่การวิจัย Better Practice

  18. Routine to Research องค์ประกอบ/คุณลักษณะที่สำคัญ คือ 1. คำถามวิจัย (Research question) 2. ผู้วิจัย (Investigators) 3. ผลการวิจัย (Results) 4. การนำผลการวิจัยไปใช้ (Implementation)

  19. 1) คำถามวิจัย (Research Question) เป็นปัญหาที่มาจากงานประจำหรือการบริการที่เป็นงานประจำที่ทำอยู่ โดยมีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาการปฏิบัติหรือ เพิ่มประสิทธิภาพของงาน/ บริการที่เป็นงานประจำนั้นๆ

  20. 2) ผู้วิจัย (Investigators) ต้องเป็นบุคลากรที่ปฏิบัติ งานประจำนั้นอยู่ ซึ่งเป็น ผู้ประสบปัญหาในหน่วยงานนั้น

  21. 3) ผลการวิจัย (Results) วัดผลลัพธ์ที่เกิดต่อผู้ป่วยหรือผล ของบริการที่มีผลต่อผู้ป่วยโดยตรง โดยเฉพาะในเรื่องของคุณภาพการบริการ

  22. 4) การนำผลการวิจัยไปใช้ (Implementation) ผลการวิจัยต้องนำกลับไปใช้ในหน่วยงานของตนเอง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วยหรือเพื่อการพัฒนางานประจำนั้น ๆ

  23. ความเกี่ยวพันที่จะนำไปสู่คุณภาพบริการความเกี่ยวพันที่จะนำไปสู่คุณภาพบริการ KM Care Team R to R

  24. การพัฒนาทีมการดูแลผู้ป่วย (Care Team) • ทีมนำทางคลินิก Clinical Lead Team (CLT) ตามกลุ่มผู้ป่วยที่มารับบริการโดยสหสาขาวิชาชีพ เพื่อพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วย (Care Process) • มีการประยุกต์การทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย สามารถพัฒนากระบวนการดูแลรักษาที่เน้นผู้ป่วยตามมาตรฐานทางวิชาชีพ

  25. การจัดการความรู้ (KM) • เป็นกระบวนการจัดการความรู้อย่างเหมาะสม • มีการสร้าง รวบรวม จัดระบบ เผยแพร่ ถ่ายโอนความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ ในการทำงาน • มีการสร้างเครือข่ายและมีวัฒนธรรมของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้มีการสร้างนวัตกรรมในการดูแลผู้ป่วย

  26. การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย(R to R) • การแสวงหาความรู้อย่างมีระบบ เพื่อที่จะตอบคำถามหรือแก้ปัญหา ซึ่งเป็นการพัฒนางานวิจัย อาจเป็นรูปแบบร่วมกับทีมการดูแลผู้ป่วย โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ หรือเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพในงานนั้นๆ

  27. จาก R to Rสู่นวัตกรรมการบริการ การนำเอาความรู้ ความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆเข้ามาใช้ปรับปรุงงาน/การบริการหรือช่วยให้การบริการได้ผลดีมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม ตลอดจนช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย

  28. R to R & นวัตกรรม ทำให้การบริการมีคุณค่ามากขึ้น

  29. R to R & นวัตกรรม เมื่อนำมาใช้ จะช่วยให้การทำงานได้ผลดี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ช่วยประหยัดเวลาและแรงงาน

  30. R to R & นวัตกรรม ทำให้บุคลากร • พัฒนาความรู้ • สามารถสร้าง & นำผลงานวิจัย มาใช้ในการปฏิบัติงาน • มั่นใจ และพึงพอใจในงานที่ทำ

  31. R to R & นวัตกรรม งาน • มีการวิเคราะห์สถานการณ์การปฏิบัติงาน • เก็บ & วิเคราะห์ข้อมูลถูกต้องตามหลักการ • มีนวัตกรรมการบริการ/ การดูแลผู้ป่วยที่ได้มาตรฐาน

  32. R to R & นวัตกรรม • องค์กร • การพัฒนางานขององค์กร • ขยายผลเผยแพร่สู่องค์กรภายนอก • เกิดการสร้างเครือข่าย • วัฒนธรรมของการแลกเปลี่ยนความรู้ • องค์กรแห่งนวัตกรรม

  33. ขั้นตอน การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย

  34. Evidence-Based Practice 4.Evidence-based 1.Evidence-triggered 3.Evidence-observed 2.Evidence-supported (From Center for Advanced Nursing Practice, 2000)

  35. 1.Evidence-triggered • Practice triggers • Knowledge triggers Describe problem of practice

  36. 2.Evidence-supported Evidence summation • guideline, • case exemplars, • best practice, • research findings Synthesis available evidence

  37. 3.Evidence-observed • Pilot study • Product evaluation • Cost/benefit analysis Determine relevance in setting

  38. 4.Evidence-based • Best practice established • Cost/benefit analysis • Contribution to advances in professional practice • Outcome improvement Evaluate impact on systems improvement

  39. ขั้นตอนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยขั้นตอนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย 1. ค้นหาประเด็นปัญหาและสาเหตุ 2. สร้างทีมงานในการพัฒนางานไปสู่การวิจัย 3. จัดทำโครงการให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา 4. ดำเนินการวิจัย 5. นำผลไปใช้ เผยแพร่ ติดตามและประเมินผล 6. ทบทวนการปฏิบัติของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง

  40. ขั้นตอน การปฏิบัติ 1. การค้นหาประเด็นปัญหาและสาเหตุ วิเคราะห์ประเด็นปัญหาของงาน และสาเหตุ • อุบัติการณ์............................ • อัตรา.............................................. • ระยะเวลา...................................... • ค่าใช้จ่าย....................................... • ความรู้ ทักษะ................................. • ทีม ................................................ Routine to Research

  41. ขั้นตอน การปฏิบัติ 2.สร้างทีมงานในการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย จัดตั้งกลุ่มพัฒนาคุณภาพงานประจำสู่งานวิจัย Routine to Research 3. จัดทำโครงการให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา ขั้นตอน การปฏิบัติ วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ และจัดตั้งโครงการวิจัย

  42. การจัดตั้งโครงการ • ปัญหาที่ต้องการวิจัยจากงานประจำคืออะไร • วัตถุประสงค์ของการวิจัยคืออะไร • ตัวแปรที่จะศึกษาคืออะไรบ้าง • จะต้องทบทวนวรรณกรรมเรื่องใดบ้าง • จะนำผลการวิจัยไปใช้พัฒนางานอย่างไร

  43. ทบทวนวรรณกรรม…เพื่อ • รวบรวมแนวความคิดในการตั้งปัญหาการวิจัย • ให้รอบรู้ในข้อเท็จจริงที่เป็นที่ยอมรับ • เตรียมกรอบทฤษฎีในการวิจัย • ประเมินความเป็นไปได้ในการวิจัย • รวบรวมรายละเอียดวิธีและเครื่องมือวิจัย ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน

  44. ทบทวนวรรณกรรม…โดย • ค้นหา ความรู้ จากเอกสาร ตำรา บทความ รายงานการวิจัย • อ่าน พินิจ พิเคราะห์ • เขียน เรียบเรียง กรอบแนวคิดในการวิจัย

  45. ทบทวนวรรณกรรม…อะไรบ้างทบทวนวรรณกรรม…อะไรบ้าง • แนวคิดและตัวแปรทุกตัวที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยครั้งนี้ • ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรดังกล่าว • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้บทสรุป ที่ทำให้ผู้วิจัยต้องการศึกษาในประเด็นดังกล่าว

  46. Routine to Research ทฤษฎี การปฏิบัติ • ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ศึกษาข้อมูล เทียบเคียงข้อมูล • กำหนดมาตรฐาน/ แนวปฏิบัติที่ดีที่สุด สอดคล้องกับหน่วยงาน • ออกแบบงานวิจัย • ตั้งสมมุติฐานเพื่อทำการพิสูจน์ • กำหนดเครื่องมือ วัดก่อน-หลัง • เก็บรวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูล 4. ดำเนินการวิจัย

  47. 5. เผยแพร่ ติดตามและประเมินผล - กำหนดเป็นแนวปฏิบัติใช้ในหน่วยงาน • ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ ความคุ้มค่า คุ้มประโยชน์ 6. ทบทวนแนวปฏิบัติของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง - ถ้าพบปัญหา .....จะมีการติดตามทบทวนแนวปฏิบัติโดยประชุมกลุ่ม Routine to Research

  48. การค้นหาสาเหตุและประเด็นปัญหาการค้นหาสาเหตุและประเด็นปัญหา สร้างทีมงาน • จัดทำโครงการให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การดำเนินงาน -ศึกษาข้อมูล -วิเคราะห์ข้อมูล -เทียบเคียงข้อมูล (benchmarking) -จัดลำดับความเร่งด่วนของปัญหา -ศึกษาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา -กำหนดเครื่องมือ วัดก่อนและหลัง -กำหนดแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด -ปรับให้เหมาะสมกับบริบทของหน่วยงาน -เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนการทำ R to R สรุปและอภิปรายผลการวิจัย • เผยแพร่ ติดตามและประเมินผล ทบทวนการปฏิบัติของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง

  49. การค้นหาสาเหตุและประเด็นปัญหาการค้นหาสาเหตุและประเด็นปัญหา สร้างทีมงาน • จัดทำโครงการให้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา ขั้นตอนการทำ R to R

  50. การดำเนินงาน -ศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เทียบเคียงข้อมูล -จัดลำดับความเร่งด่วนของปัญหา -ศึกษาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา -กำหนดเครื่องมือ วัดก่อนและหลัง -กำหนดแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด -ปรับให้เหมาะสมกับบริบทของหน่วยงาน -เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนการทำ R to R

More Related