1 / 31

หัวเรื่อง : หน้าโครงสร้างบทเรียน

File : coursemap_01.swf. หัวเรื่อง : หน้าโครงสร้างบทเรียน. โครงสร้างบทเรียน. เคมีไฟฟ้า. บทนำ. การดุลปฏิกิริยารีด็อกซ์. การสึดกร่อน. ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน. เคมีไฟฟ้ากับชีวิตประจำวัน. ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซซีส. สมการของเนินส์. เลขออกซิเดชั่น. เซลล์ไฟฟ้าเคมี. ไม่มีเสียง.

callie
Download Presentation

หัวเรื่อง : หน้าโครงสร้างบทเรียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. File : coursemap_01.swf หัวเรื่อง : หน้าโครงสร้างบทเรียน โครงสร้างบทเรียน เคมีไฟฟ้า บทนำ การดุลปฏิกิริยารีด็อกซ์ การสึดกร่อน ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน เคมีไฟฟ้ากับชีวิตประจำวัน ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซซีส สมการของเนินส์ เลขออกซิเดชั่น เซลล์ไฟฟ้าเคมี ไม่มีเสียง • คลิก link ไป .swf

  2. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี เป็นการศึกษาถึงปฏิกิริยาที่เมื่อเกิดปฏิกิริยาแล้วมีการถ่ายเทอิเล็กตรอนเกิดขึ้นซึ่งสามารถแบ่งชนิดของปฏิกิริยาตามการเกิดปฏิกิริยาออกได้เป็น 2 ชนิดคือ ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าที่เกิดได้เอง ซึ่งปฏิกิริยาประเภทนี้เมื่อเกิดปฏิกิริยาจะมีการให้พลังงานไฟฟ้าออกมา ทำให้มีการนำเอาปฏิกิริยาเคมีชนิดนี้ไปใช้งานในด้านต่างๆเช่น แบตเตอรี่ ใช้ในการหาค่า พีเอชปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งคือ ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าที่ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าจากภายนอกในปริมาณที่มากพอจึงจะเกิดปฏิกิริยาอิเล็กโตรไลซีส ตัวอย่างการนำเอาปฏิกิริยานี้ไปใช้งานได้แก่ การชุบโลหะ ซึ่งไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าชนิดใดก็ตาม การเกิดปฏิกิริยาจะต้องประกอบด้วยปฏิกิริยาการให้อิเล็กตรอน และ ปฏิกิริยาการรับอิเล็กตรอน เสมอ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • ใส่ transition เพื่อ highlight ในส่วนที่พูดถึงหรือทำเป็นลากเส้นโยงไปยังส่วนต่างๆ เพื่อให้เห็นการแยกส่วนอย่างชัดเจน ระหว่าง Volaticและ Electrolytic

  3. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา บทนำ • ปฏิกิริยา Redox • การพิจารณาว่าปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่ อาจพิจารณาได้ง่าย ๆ ดังนี้ • ปฏิกิริยาที่มีธาตุอิสระเป็นสารตั้งต้นหรือเป็นสารผลิตภัณฑ์จะเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ (ปฏิกิริยาสันดาป และปฏิกิริยาสังเคราะห์แสงเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์) • ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้าเคมีทุกชนิดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ • ปฏิกิริยาเมตาบอลิซึมในร่างกายเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ • ปฏิกิริยาที่มีธาตุแทรนซิชันร่วมอยู่ด้วยมักจะเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ เป็นปฏิกิริยาที่ประกอบด้วย 2 ปฏิกิริยาย่อย คือ ปฏิกิริยารีดักชันกับปฏิกิริยาออกซิเดชันปฏิกิริยาออกซิเดชัน หมายถึงปฏิกิริยาที่สารเสียอิเล็กตรอน หรือหมายถึงปฏิกิริยาที่สารมีการเพิ่มเลยออกซิเดชันปฏิกิริยารีดักชัน หมายถึงปฏิกิริยาที่สารรับอิเล็กตรอน หรือหมายถึงปฏิกิริยาที่สารมีการลดเลขออกซิเดชัน การพิจารณาว่าปฏิกิริยาใดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่ อาจพิจารณาได้ง่าย ๆ ดังนี้1. ปฏิกิริยาที่มีธาตุอิสระเป็นสารตั้งต้นหรือเป็นสารผลิตภัณฑ์จะเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ (ปฏิกิริยาสันดาป และปฏิกิริยาสังเคราะห์แสงเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์)2. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์ไฟฟ้าเคมีทุกชนิดเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์3. ปฏิกิริยาเมตาบอลิซึมในร่างกายเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ 4. ปฏิกิริยาที่มีธาตุแทรนซิชันร่วมอยู่ด้วยมักจะเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ ตัวรีดิวซ์ คือ สารที่ทำหน้าที่ให้อิเล็กตรอนแก่สารอื่น ดังนั้นตัวรีดิวซ์จึงมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้นตัวออกซิไดซ์ คือ สารที่ทำหน้าที่รับอิเล็กตรอนจากสารอื่น ดังนั้นตัวออกซิไดซ์จึงมีเลขออกซิเดชันลดลง • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • แสดงแอนิเมชั่นให้ลูกศรปรากฏทิศทางตามภาพ วิ่งไปหา Reduced Compound

  4. เลขออกซิเดชั่น คือค่าประจุไฟฟ้า หรือประจุไฟฟ้าสมบัติของธาตุที่มาสร้างพันธะกันโดยกำหนดวิธีการแบ่งปันอิเล็กตรอน โดยอาศัยค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีหรือค่า EN โดยธาตุที่มีค่า EN สูง มีแนวโน้มจะรับอิเล็กตรอน แล้วมีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ส่วนธาตุที่มีค่า EN ต่ำ มีแนวโน้มจะจ่ายอิเล็กตรอน แล้วมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก การเขียนค่าเลขออกซิเดชันจะเขียนเครื่องหมายบวกหรือลบข้างหน้าตัวเลขธาตุ 1 ชนิด สามารถมีเลขออกซิเดชันได้มากกว่าหนึ่งค่า อย่างเช่น Na เป็นธาตุหมู่ IA จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดที่เสียให้ได้ เท่ากับ 1 ตัว จึงมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ 1 ใช้สัญลักษณ์คือ Na + หรือในทางกลับกัน จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดที่อะตอมสามารถรับเข้ามาได้ ก็คือเลขออกซิเดชัน ที่มีค่าเป็นลบ นั่นเอง ตัวอย่างเช่น Cl เป็นธาตุหมู่ VIIA ขาดอีก 1 อิเล็กตรอนก็จะครบออกเดต เลขออกซิเดชันจึงเท่ากับ -1 เขียนเป็นสัญลักษณ์คือ  Cl – วิธีการอ่านคำว่า VIIA และ IA เลขออกซิเดชั่น (Oxidation Number) • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  5. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา เลขออกซิเดชั่น • ข้อตกลงเกี่ยวกับเลข Oxidation 1 2 1. อะตอมของธาตุต่างๆในสภาวะอิสระไม่ว่าจะอยู่ในรูปอะตอมเดี่ยว หรือหลายอะตอมกำหนดให้เลขออกซิเดชันเท่ากับ ศูนย์ 3 4 5 6 คลิกเพื่อแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม ข้อตกลงเกี่ยวกับเลขออกซิเดชั่น มีดังต่อไปนี้ นักศึกษาสามารถคลิกเพื่อศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้เลยนะครับ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • ทำให้กล่องตัวเลขเป็นปุ่ม เมื่อคลิกแล้วปรากฎข้อความในกรอบ คลิกตัวเลข แสดงข้อความ ดังนี้ เลข 1 :อะตอมของธาตุต่างๆในสภาวะอิสระไม่ว่าจะอยู่ในรูปอะตอมเดี่ยวหรือหลายอะตอมกำหนดให้เลขออกซิเดชันเท่ากับ ศูนย์ เลข 2 : ไอออนที่มีอะตอมเดี่ยว เลขออกซิเดชันจะเท่ากับ ประจุ ของไอออนนั้น เลข 3 : เลขออกซิเดชันของโลหะอัลคาไลท์และอัลคาไลเอิร์ท ในสารประกอบต่างๆ จะมีค่าเท่ากับ +1 และ +2 ตามลำดับ เลข 4 : เลขออกซิเดชันของออกซิเจนในสารประกอบส่วนมากเท่ากับ -2 ยกเว้นในกรณีของสารประกอบเปอร์ออกไซด์ซึ่งจะมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -1, -1/2 หรือในสารประกอบพวกซุปเปอร์ออกไซด์จะเท่ากับ +2 OF2 เลข 5: เลขออกซิเดชันของไฮโดรเจนในสารประกอบส่วนมากมีค่าเท่ากับ +1 ยกเว้นสารพวกไฮไดรด์ไอออนิกจะมีค่าเท่ากับ -1 เช่น LiAlH4, NaBH4 เลข 6: ผลรวมทางพีชคณิตของเลขออกซิเดชันของอะตอมทั้งหมดในสูตรเคมีใดๆจะมีค่าเท่ากับประจุสำหรับกลุ่มของอะตอมที่เขียนแสดงในสูตรนั้นๆ

  6. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา เลขออกซิเดชั่น • วิธีตรวจดูเลขออกซิเดชัน หรือวิธีครึ่งปฏิกิริยา 2 3 4 1 5 วิธีตรวจดูเลขออกซิเดชัน หรือวิธีครึ่งปฏิกิริยา ขั้นแรกตรวจดูว่าสารตัวใดถูกออกซิไดซ์ และถูกรีดิวซ์ และผลผลิตที่ได้คืออะไร ขั้นต่อไปทำการแยกปฏิกิริยาออกซิเดชั่นและ รีดักชั่น ขั้นที่ 3 ดุลปฏิกิริยา โดยพิจารณาทั้งจำนวนอะตอม อิเล็กตรอน และประจุ โดยถ้าปฏิกิริยาเกิดขึ้นในสารละลายที่เป็นกรด ให้เติม H+ ในการดุลประจุ และถ้าปฏิกิริยาเกิดขึ้นในเบส ให้เติม OH-ในการดุลประจุ แล้วทำการดุลอะตอมของ H+หรือ OH-ด้วย H2O ขั้นที่ 4 ทำการดุลอิเล็กตรอนที่ใช้ในปฏิกิริยาออกซิเดชั่น และรีดักชั่นให้ใช้จำนวน อิเล็กตรอนเท่าๆกัน ขั้นตอนสุดท้ายทำการรวมปฏิกิริยาออกซิเดชั่นและรีดักชั่นที่ผ่านการดุลอิเล็กตรอนและ ประจุ เรียบร้อยแล้วเข้าด้วยกัน โดยเมื่อได้ปฏิกิริยารวมที่สมบูรณ์จะต้องไม่มีจำนวน อิเล็กตรอนเหลืออยู่ในสมการ วิธีการอ่านตัวย่อ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • เมื่อคลิกตัวเลขให้เกิดข้อความตามตัวเลขนั้น

  7. ชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ สามารถแบ่งชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ได้ดังนี้ ตามการเกิดปฏิกิริยา ตามความสามารถในการผันกลับของปฏิกิริยา นักศึกษาสามารถคลิกเพื่อศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม สามารถแบ่งชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ได้ดังนี้–แบ่งชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ตามการเกิดปฏิกิริยา -แบ่งชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ตามความสามารถในการผันกลับของปฏิกิริยานักศึกษาสามารถคลิกเพื่อศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้เลยคะ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • คลิก (ตามการเกิดปฏิกิริยา) Link ไปที่ ... • คลิก (ตามความสามารถในการผันกลับของปฏิกิริยา) Link ไปที่ ...

  8. ชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ • แบ่งชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ตามการเกิดปฏิกิริยา • ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้นได้เอง เรียกเซลล์ไฟฟ้าชนิดนี้ว่า galvanic cell • 2) ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าเพื่อให้เกิดปฏิกิริยา เรียกเซลล์ไฟฟ้าชนิดนี้ว่า electrolytic cell galvanic cell electrolytic cell สามารถแบ่งชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ตามการเกิดปฏิกิริยา ได้ดังนี้ 1) ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้นได้เอง เรียกเซลล์ไฟฟ้าชนิดนี้ว่าการ์แวนิกเซลล์ 2) ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าเพื่อให้เกิดปฏิกิริยา เรียกเซลล์ไฟฟ้าชนิดนี้ว่า อิเล็กโตรไลส์เซลล์ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  9. ชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ • แบ่งชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ตามความสามารถในการผันกลับของปฏิกิริยา • 1) ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ผันกลับได้ ซึ่งจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ • - ถ้ามีแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระทำต่อเซลล์นี้จากภายนอกด้วยขนาดที่เท่ากับแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ ปฏิกิริยาเคมีที่กำลังดำเนินอยู่ในเซลล์ดังกล่าวจะต้องยุติทันที • - ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าจากภายนอกมีค่าสูงกว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์แม้เพียงเล็กน้อย จะมีกระแสไฟเริ่มไหลในทิศทางตรงกันข้ามกับเมื่อก่อนที่จะมีการใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้าจากภายนอกมากระทำและปฏิกิริยาในเซลล์ก็จะมีทิศทางกลับกันกับปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเดิม • 2) ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ผันกลับไม่ได้ จะเป็นปฏิกิริยที่มีคุณสมบัติตรงกันข้ามกับปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ผันกลับได้ สามารถแบ่งชนิดของปฏิกิริยารีดอกซ์ตามความสามารถในการผันกลับของปฏิกิริยา 1) ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ผันกลับได้ ซึ่งจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ - ถ้ามีแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระทำต่อเซลล์นี้จากภายนอกด้วยขนาดที่เท่ากับแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ ปฏิกิริยาเคมีที่กำลังดำเนินอยู่ในเซลล์ดังกล่าวจะต้องยุติทันที - ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าจากภายนอกมีค่าสูงกว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์แม้เพียงเล็กน้อย จะมีกระแสไฟเริ่มไหลในทิศทางตรงกันข้ามกับเมื่อก่อนที่จะมีการใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้าจากภายนอกมากระทำและปฏิกิริยาในเซลล์ก็จะมีทิศทางกลับกันกับปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเดิม 2) ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ผันกลับไม่ได้ จะเป็นปฏิกิริยที่มีคุณสมบัติตรงกันข้ามกับปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ผันกลับได้ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  10. เซลล์ไฟฟ้าเคมีโดยทั่วไปจะต้องประกอบด้วยส่วนสำคัญต่างๆดังต่อไปนี้เซลล์ไฟฟ้าเคมีโดยทั่วไปจะต้องประกอบด้วยส่วนสำคัญต่างๆดังต่อไปนี้ ขั้วไฟฟ้าประกอบด้วย 2 ขั้วคือ แคโทด และ แอโนด สะพานเกลือประกอบด้วยเกลือที่ละลายน้ำได้ดี และมีไอออนบวกและไอออนลบที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้เคียงกัน สะพานเกลือนั้นประกอบด้วยเกลือที่ละลายน้ำได้ดี และมีไอออนบวกและลบที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้เคียงกัน เช่น KCl, NH4NO3ทำหน้าที่ให้ไอออนจากสารละลายหนึ่งข้ามผ่านไปอีกข้างหนึ่งได้ครับ การเรียกชื่อและอธิบายสูตร เซลล์ไฟฟ้าเคมี เซลล์ไฟฟ้าเคมีโดยทั่วไปจะต้องประกอบด้วยส่วนสำคัญต่างๆดังต่อไปนี้ - ขั้วไฟฟ้าประกอบด้วย 2 ขั้วคือ cathode และ anode - สะพานเกลือประกอบด้วยเกลือที่ละลายน้ำได้ดี และมีไอออนบวกและไอออนลบที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้เคียงกัน Salt Bridge (สะพานเกลือ) ประกอบด้วยเกลือที่ละลายน้ำได้ดี และมีไอออนบวกและไอออนลบที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้เคียงกันเช่น KCl, NH4NO3ทำหน้าที่ให้ไอออนจากสารละลายหนึ่งข้ามผ่านไปอีกข้างหนึ่งได้ Zn (s ) + 2OH -(aq) ZnO(s) + H 2O(l) + 2e- • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • ภาพให้เน้นที่ขั้วแคโทด และแอโนด • และภายในน้ำให้ K+และ OH-เคลื่อนที่ไปในทิศทางใดก็ได้ โดยให้ความเร็วเท่ากัน

  11. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ขั้วไฟฟ้า เซลล์ไฟฟ้าเคมี การพิจารณาชั้วไฟฟ้าในเซลล์ไฟฟ้าเคมี : ขั้ว Cathode และ ขั้ว Anode พิจารณาโดยอาศัย กระแสไอออน ( ion current )โดยพิจารณาว่า เมื่อเกิดปฏิกิริยา เกิดไอออนชนิดใดที่ขั้วไฟฟ้า โดย ขั้ว Cathode คือ ขั้วที่เกิดปฏิกิริยา Reduction และ ขั้ว Anode คือ ขั้วที่เกิดปฏิกิริยา Oxidation พิจารณาเซลล์ไฟฟ้า Zn(s) + Cu2+(aq)  Zn2+(aq) + Cu(s) ขั้วไฟฟ้าคือ Zn(s) และ Cu(s) ปฏิกิริยาออกซิเดชันที่แอโนด ( Zn )    Zn (s ) Zn 2+(aq) + 2e - ปฏิกิริยารีดักชันที่แคโทด (Cu )          Cu 2+(aq) + 2e - Cu(s) 5 ดังนั้น ขั้ว Zn คือ ขั้ว anode และขั้ว Cu คือ Cathode การพิจารณาชั้วไฟฟ้าในเซลล์ไฟฟ้าเคมี พิจารณาโดยอาศัย จากรูปเซลล์กัลวานิกประกอบด้วยสองครึ่งเซลล์ โดยแต่ละครึ่งเซลล์จะประกอบด้วยขั้วไฟฟ้าที่จุ่มลงไปในสารละลาย แท่งสังกะสีและแท่งทองแดงในเซลล์เป็นขั้วไฟฟ้าซึ่งเรียกว่า อิเล็กโทรด ขั้วที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เรียกว่า ขั้วแอโนด และขั้วที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน เรียกว่า ขั้วแคโทดระหว่างที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันขึ้นที่ขั้วแอโนด Zn จะค่อย ๆ กร่อนแล้วเกิดเป็น Zn2-ละลายลงมาในสารละลายที่มี Zn2-และ SO42-ส่วนที่ขั้วแคโทด Cu2+จากสารละลายเกิดปฏิกิริยารีดักชันกลายเป็นอะตอมของทองแดงเกาะอยู่ที่ผิวของขั้วไฟฟ้า เมื่อปฏิกิริยาดำเนินไปจะพบว่าในครึ่งเซลล์ออกซิเดชันสารละลายจะมีประจุบวก มากกว่าประจุลบ และในครึ่งเซลล์รีดักชันสารละลายจะมีประจุลบ มากกว่าประจุบวกจึงเกิดความไม่สมดุลทางไฟฟ้าขึ้น ปัญหานี้สามารถที่จะแก้ไขได้โดยการใช้ สะพานเกลือ เชื่อมต่อระหว่างสองครึ่งเซลล์ ซึ่งสะพานเกลือทำจากหลอดแก้วรูปตัวยู ภายในบรรจุอิเล็กโตรไลต์ที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสารในเซลล์และมีไอออนบวก ไอออนลบเคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้เคียงกัน หรือทำจากกระดาษกรองชุบอิเล็กโตรไลต์ โดยสะพานเกลือทำหน้าที่เป็นตัวกลางที่เชื่อมต่อระหว่างครึ่งเซลล์ทั้งสอง และเป็นสิ่งที่ป้องกันการเกิดการสะสมของประจุโดยไอออนบวกจากสะพานเกลือจะเคลื่อนที่ไปยังครึ่งเซลล์ที่มีประจุลบมาก ในทางตรงกันข้ามไอออนลบก็จะเคลื่อนที่ไปยังครึ่งเซลล์ที่มีประจุมาก จึงทำให้ปฏิกิริยาดำเนินต่อไปได้ในเวลาที่มากขึ้น • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • lแสดงแอนิเมชั่น

  12. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา เซลล์ไฟฟ้าเคมี ความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี แรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์คือผลรวมทางพีชคณิตของศักย์ไฟฟ้าของแต่ละขั้วอิเล็กโตรดแต่ในทางปฏิบัติ ไม่มีวิธีวัดศักย์ไฟฟ้าของแต่ละขั้วเดี่ยวได้โดยตรงจึงต้องวัดออกมาเป็นความต่างศักย์ของขั้วไฟฟ้า โดยถ้าค่าความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้า มีค่าเป็น บวก แสดงว่าปฏิกิริยาเคมีนั้นสามารถเกิดขึ้นได้เอง จัดเป็นปฏิกิริยาประเภท Galvanic และถ้าค่าความต่างศักย์ของเซลล์มีค่าเป็น ลบ แสดงว่าปฏิกิริยาเคมีนั้นต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าภายนอกมาช่วยทำให้เกิดปฏิกิริยา จัดเป็นปฏิกิริยาประเภท Electrolytic การหาค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเซลล์ไฟฟ้า มีข้อตกลงคือ แรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ = ศักย์ไฟฟ้าที่ขั้ว Cathode – ศักย์ไฟฟ้าที่ขั้ว Anode 1 แรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์คือผลรวมทางพีชคณิตของศักย์ไฟฟ้าของแต่ละขั้วอิเล็กโตรดแต่ในทางปฏิบัติ ไม่มีวิธีวัดศักย์ไฟฟ้าของแต่ละขั้วเดี่ยวได้โดยตรงจึงต้องวัดออกมาเป็นความต่างศักย์ของขั้วไฟฟ้า โดยถ้าค่าความต่างศักย์ของเซลล์ไฟฟ้า มีค่าเป็น บวก แสดงว่าปฏิกิริยาเคมีนั้นสามารถเกิดขึ้นได้เอง จัดเป็นปฏิกิริยาประเภท กาแวนนิก และถ้าค่าความต่างศักย์ของเซลล์มีค่าเป็น ลบ แสดงว่าปฏิกิริยาเคมีนั้นต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าภายนอกมาช่วยทำให้เกิดปฏิกิริยา จัดเป็นปฏิกิริยาประเภทอิเล็กโตรไลติก การหาค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเซลล์ไฟฟ้า มีข้อตกลงคือ แรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ เท่ากับ ศักย์ไฟฟ้าที่ขั้วแคโทด ลบด้วย ศักย์ไฟฟ้าที่ขั้วแอโนด • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  13. ครึ่งเซลล์มาตรฐานที่ใช้เปรียบเทียบความสามารถในการให้รับ e- ของครึ่งเซลล์ต่างๆ จะใช้ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนเขียนแทนด้วย Pt(s) | H2(1atm) | H+(1M) และกำหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้าของไฮโดรเจนที่สภาวะมาตรฐาน(25°C,1atm) มีค่าเท่ากับศูนย์โวลต ครึ่งเซลล์มาตรฐานที่ใช้เปรียบเทียบความสามารถในการให้รับ e- ของครึ่งเซลล์ต่างๆ จะใช้ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนเขียนแทนด้วย Pt(s) | H2(1atm) | H+(1M) และกำหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้าของไฮโดรเจนที่สภาวะมาตรฐาน(25°C,1atm) มีค่าเท่ากับศูนย์โวลต ครึ่งเซลล์มาตรฐานที่ใช้เปรียบเทียบความสามารถในการให้รับ e- ของครึ่งเซลล์ต่างๆ จะใช้ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนเขียนแทนด้วย Pt(s) | H2(1atm) | H+(1M) และกำหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้าของไฮโดรเจนที่สภาวะมาตรฐาน(25°C,1atm) มีค่าเท่ากับศูนย์โวลต File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน (E°) ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์วัดที่ 250C, ความเข้มข้น 1.0 M หรือความดันแก๊สที่ 1 atm เปรียบเทียบระหว่าง - ครึ่งเซลล์ที่มีขั้วไฟฟ้าโลหะจุ่มในสารละลายที่มีไอออนของโลหะนั้นความเข้มข้น 1 M ที่ 25 0C - ครึ่งเซลล์มาตรฐานของH2(SHE) ซึ่งใช้ขั้วไฟฟ้าเป็นแก๊สH2ที่ความดัน1 atmจุ่มในสารละลายที่มี[H+] 1 M, 25 0C - ข้อตกลงให้ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานของH2 (SHE) มีค่าเป็น 0 ความสัมพันธ์ของ E0cellและ G0 G0 = - nFE0cell 1 ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน (E0cell)= ? วัดโดยเปรียบเทียบความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างศักย์ไฟฟ้าที่ต้องการกับศักย์ไฟฟ้าอ้างอิง • ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์วัดที่ 250องศาเซลเซียส ความเข้มข้น 1.0 M หรือความดันแก๊สที่ 1บรรยากาศ ความสัมพันธ์ของ E0cellและ G0 • G0 = - nFE0cellศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน เท่ากับเท่าไหร่ วัดโดยเปรียบเทียบความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างศักย์ไฟฟ้าที่ต้องการกับศักย์ไฟฟ้าอ้างอิง • เปรียบเทียบระหว่างครึ่งเซลล์ที่มีขั้วไฟฟ้าโลหะจุ่ม ในสารละลายที่มี ไอออนของโลหะนั้น ความเข้มข้น 1 M ที่ 25 องศาเซลเซียส • - ครึ่งเซลล์มาตรฐานของ H2(SHE) ซึ่งใช้ขั้วไฟฟ้า เป็นแก๊ส H2 ที่ความดัน1 atm จุ่มในสารละลายที่มี [H+] 1 M, 25 0Cข้อตกลงให้ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานของ H2 (SHE) มีค่าเป็น 0 • การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  14. 2.303RT [Product] nF log [Reactant] Ecell = E0cell – File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมการของเนินส์ • สมการเนินสต์(Nernst Equation) นำเซลล์ไฟฟ้าเคมีมาใช้งานที่อุณหภูมิและ ความเข้มข้นอื่นที่ไม่ใช่สภาวะมาตรฐาน Ecell E0cell 1 (E0cell= E0Cathode – E0Anode) Walther Nernst เนื่องจากความเข้มข้นของสารและอุณหภูมิมีผลต่อค่าศักย์ไฟฟ้า ดังนั้น ขั้วไฟฟ้าที่ประกอบด้วยสารชนิดเดียวกัน แต่ใช้ความเข้มข้นที่แตกต่างกันหรืออยู่ภายใต้อุณหภูมิที่แตกต่างกัน ก็จะมีค่าศักย์ไฟฟ้าที่แตกต่างกัน ในการคำนวณหาค่าศักย์ไฟฟ้าของขั้วไฟฟ้าดังกล่าวสามารถทำได้โดยอาศัย Nerenst’s equation และเมื่อได้ค่าศักย์ไฟฟ้าของขั้วไฟฟ้า ก็สามารถนำมาใช้ในการคำนวณหาค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ได้ โดยอาศัยความสัมพันธ์ Ecell = Ecathode – Eanode การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  15. ln K Eº = Q = E = Eº - log Q File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา สมการของเนินส์ หากระบบอยู่ในสภาวะสมดุลค่าความต่างศักย์จะเท่ากับ ศูนย์ จะได้สมการใหม่เป็น ln Q ; E = Eº - R = 8.314 VCK-1mol-1 F = 96,487 C T = 298.15 K 1 เมื่อ K คือค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา เมื่อแทนค่าต่างๆลงใน Nernst Equation จะได้ จะใช้ในกรณีที่ทำการทดลองที่ 298 K เท่านั้น คลิกเพื่อแสดงตัวอย่าง ถ้าหากว่าระบบอยู่ในสภาวะสมดุลค่าความต่างศักย์จะเท่ากับศูนย์ จะได้สมการใหม่เป็น • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • เมื่อคลิกไอคอนตัวอย่างปรากฎ pop up มีข้อความดังนี้ คลิกปุ่มแสดงภาพ ดังนี้ ตัวอย่าง: คำนวณหาค่าคงที่สมดุลที่ 25 C ของปฏิกิริยา Zn(s) + Cu2+(aq)  Zn2+(aq) + Cu(s)(2 x 1037) ถ้าวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ได้ 1.05 V อัตราส่วน [Zn2+]/[Cu2+] มีค่าเท่าใด (48.75) Submit

  16. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • ปรากฏการณ์และกฎที่สำคัญในกระบวนการ electrolysis กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟและศักย์ไฟฟ้า หากลากเส้นตรงตามแนวที่เพิ่มขึ้นมาตัดแกนศักย์ไฟฟ้า (I = 0) จะได้ค่าศักย์ไฟฟ้าที่เป็น ศักย์ไฟฟ้าแตกตัว (decomposition potential) ซึ่งจะเป็นค่าศักย์ไฟฟ้าที่น้อยที่สุด ที่ทำให้เกิด electrolysis แต่หากศักย์ไฟฟ้าแตกตัวมีค่ามากกว่า Er ค่าศักย์ไฟฟ้าที่เกิน Erนี้จะเรียกว่า ศักย์ไฟฟ้าเกินตัว (overpotential, overvoltage) จากการคำนวณค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ทำให้สามารถบอกได้ว่าปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีนั้นสามารถเกิดขึ้นเองได้หรือไม่โดยถ้าค่าศักย์ไฟฟ้าของปฏิกิริยามีค่าเป็นลบ นั่นหมายถึงปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้านั้นไม่สามารถเกิดขึ้นได้เอง แต่เมื่อปฏิกิริยาดังกล่าวได้รับพลังงานไฟฟ้าจากภายนอกจะสามารถเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นได้ กระบวนการเกิดปฏิกิริยาหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีโดยอาศัยพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานภายนอกนี้เรียกว่า อิเล็กโทรลิซีส โดยถ้าลากเส้นตรงตามแนวที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วมาตัดแกนศักย์ไฟฟ้า (I = 0) จะได้ค่าศักย์ไฟฟ้าที่เป็น ศักย์ไฟฟ้าแตกตัว ซึ่งจะเป็นค่าศักย์ไฟฟ้าที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิด electrolysis ค่าศักย์ไฟฟ้าแตกตัวนี้เป็นค่าที่ไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับชนิดของอิเล็กโตรดและสภาวะอื่นๆ แต่ค่าศักย์ไฟฟ้าแตกตัวนี้ควรจะมีค่าเดียวกับ reversible potential Er ซึ่งเป็นศักย์ไฟฟ้าขณะที่ไอออนและอิเล็กโตรดในสารละลายอยู่ในสภาวะสมดุล แต่ถ้าหากว่าศักย์ไฟฟ้าแตกตัวมีค่ามากกว่า Er ค่าศักย์ไฟฟ้าที่เกิน Er นี้จะเรียกว่า ศักย์ไฟฟ้าเกินตัว การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • แสดงแอนิเมชั่น เมื่อพูดถึงคำว่า “โดยถ้า...” ให้ปรากฏเส้นทึบขึ้นตามเส้นปะ • ทำคำว่า “ศักย์ไฟฟ้าแตกตัว” ให้เป็นปุ่ม เมื่อ roll overปรากฎข้อความดังนี้ • ค่าศักย์ไฟฟ้าแตกตัวเป็นค่าที่ไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับชนิดของอิเล็กโตรดและสภาวะอื่นๆ • ค่าศักย์ไฟฟ้าแตกตัวควรจะมีค่าเดียวกับ reversible potential Er ซึ่งเป็นศักย์ไฟฟ้าขณะที่ไอออนและอิเล็กโตรดในสารละลายอยู่ในสภาวะสมดุล

  17. ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีสปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • อิเล็กโทรลิซิสของสารละลาย อิเล็กโทรลิซิส คือกระบวนการผ่านกระแสไฟฟ้า จากภายนอกเข้าไปในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ แล้วทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างเช่น อิเล็กโตรลิซึม และการชุบ ขบวนการที่ผ่านกระแสไฟฟ้า ทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี เครื่องมือที่ใช้แยกสารละลายด้วยไฟฟ้าเรียกว่า เซลล์อิเล็กโทรไลต์ หรืออิเล็กโทรลิติกเซลล์ ประกอบด้วย ขั้วไฟฟ้า ภาชนะบรรจุสารละลายอิเล็กโทรไลต์ และเครื่องกำเนิดกระแสตรง เช่น เซลล์ไฟฟ้า หรือ แบตเตอรี่ ในการพิจารณาการเกิดอิเล็กโทรลิซิส สิ่งที่ต้องสนใจคือ ค่าศักย์ไฟฟ้าภายนอก และ ชนิดของไอออน/สาร ที่อยู่ในสารละลาย โดยปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซิสจะเกิดขึ้นได้หรือไม่นั้น ค่าศักย์ไฟฟ้าภายนอกจะต้องสูงมากพอ โดยต้องมีค่าอย่างน้อยเท่ากับ ศักย์ไฟฟ้าแตกตัว ในบางกรณีศักย์ไฟฟ้าเกินตัว ของคู่ไออนที่เกิดปฏิกิริยาที่ขั้ว แคโทดและแอโนด • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • แสดงเอนิเมชั่น

  18. ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีสปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • อิเล็กโทรลิซิสของน้ำบริสุทธิ์ http://www.chem1.com/CQ/ionbunk.html ชนิดของไอออน/สารที่มีอยู่ในน้ำบริสุทธิ์ คือ H+และ OH-ซึ่ง H+สามารถรับอิเล็กตรอนเกิดเป็น H2(g) ที่ขั้ว cathode และ OH-สามารถให้อิเล็กตรอนเกิดเป็น O2(g) ที่ขั้ว anode ดังนั้น ในการเกิดอิเล็กโทรลิซิสของน้ำ จะต้องมีการให้ศักย์ไฟฟ้าภายนอกอย่างน้อยเท่ากับศักย์ไฟฟ้าแตกตัว ซึ่งสามารถคำนวณได้จากความสัมพันธ์ Ecell = Ecathode – Eanode การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • แสดงเอนิเมชั่น

  19. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • อิเล็กโทรลิซิสของสารละลายกรด HCl Anode 2Cl-(aq)  Cl2(g) + 2e- Eº = -1.36 V Cathode2H+(aq) + 2e- H2(g) Eº= 0.00 V ปฏิกิริยารวม 2H+(aq) + 2Cl-(aq)  H2(g) + Cl2(g) Eºcell = -1.36 V คำถาม : ถ้าพิจารณาว่าในสารละลาย HClมีน้ำอยู่ด้วย การเกิด electrolysis จะเป็นอย่างไร พิจารณาเซลล์อิเล็กโตรลิติกของสารละลาย HCl ที่มีความเข้มข้น 1 M และใช้ Pt เป็นอิเล็กโตรด เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในเซลล์จำนวนหนึ่งจะได้แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สคลอรีนออกมาตามปฏิกิริยา ศักย์ไฟฟ้ามีค่าเป็น ลบ แสดงว่าปฏิกิริยานี้ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้ ดังนั้นต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าจากภายนอก เมื่อเพิ่มศักย์ไฟฟ้าเข้าไปในสารละลายจากศูนย์ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งศักย์ไฟฟ้าที่ให้ไปมีค่าเท่ากับ 1.36 โวลต์อาจมากถึง 1.60 โวลต์เนื่องจากเกิดโอเวอร์โพเทนเทียว จะเริ่มเห็นฟองแก๊สเกิดขึ้นที่ขั้วอิเล็กโตรด การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ รอคำตอบจากกรอบสีส้มด้วย • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • แสดงเอนิเมชั่น

  20. ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีสปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • การใช้ปฏิกิริยาอิเล็กโทรไลซิสในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ • กฎของ Faraday เกี่ยวกับ Electrolysis Michael Faraday เป็นผู้ที่ค้นพบความสำพันธ์แบบปริมาณวิเคราะห์ระหว่างปริมาณไฟฟ้า และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นที่ electrode ในกระบวนการ electrolysis โดยพบว่า ความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงทางเคมีมีความสัมพันธ์กับจำนวน electron ที่มีการถ่ายเทในปฏิกิริยา Michael Faraday ไมเคิล ฟาราเดย์ เป็นผู้ที่ค้นพบความสำพันธ์แบบปริมาณวิเคราะห์ระหว่างปริมาณไฟฟ้า และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นที่ อิเล็กโตรดในกระบวนการอิเล็กโทรไลซีส โดยพบว่า ความมากน้อยของการเปลี่ยนแปลงทางเคมีมีความสัมพันธ์กับจำนวนอิเล็กตรอนที่มีการถ่ายเทในปฏิกิริยา • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  21. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • การใช้ปฏิกิริยาอิเล็กโทรไลซิสในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ การไหลของกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นเนื่องจากมีการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนผ่านตัวนำ ในการผลักดันให้ประจุขนาด 1 คูลอมบ์เคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง 1 volt = 1 joule/coulomb งานทางไฟฟ้าสุทธิ Welec. = (coulomb)(volt) การไหลของกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นเนื่องจากมีการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนผ่านตัวนำ ในการผลักดันให้ประจุขนาด 1 คูลอมบ์เคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง 1 volt = 1 joule/coulomb และ งานทางไฟฟ้าสุทธิ Welec. = (coulomb)(volt) การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  22. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • การใช้ปฏิกิริยาอิเล็กโทรไลซิสในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ งานที่ได้จากเซลล์ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เพราะมีการถ่ายเทอิเล็กตรอน ดังนั้นจำนวนประจุในหน่วยคูลอมบ์จึงขึ้นกับจำนวนอิเล็กตรอนในปฏิกิริยา ซึ่ง 1 mol electron จะมีปริมาณประจุ 96,487 coulombจะได้ว่าWelec. = nFE n คือ จำนวนโมลของอิเล็กตรอน F คือ Faraday’s constant งานที่ได้จากเซลล์ไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เพราะมีการถ่ายเทอิเล็กตรอน ดังนั้นจำนวนประจุในหน่วยคูลอมบ์จึงขึ้นกับจำนวนอิเล็กตรอนในปฏิกิริยา ซึ่ง 1 mol electron จะมีปริมาณประจุ 96,487 coulomb ซึ่งจะได้ว่า Welec. = nFE n คือ จำนวนโมลของอิเล็กตรอน และ F คือ Faraday’s constant การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  23. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • การใช้ปฏิกิริยาอิเล็กโทรไลซิสในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ปริมาณไฟฟ้าในหน่วย coulomb สามารถหาได้จากความสัมพันธ์ต่อไปนี้ Q = It Q คือ ปริมาณไฟฟ้าในหน่วย coulomb (C) I คือ กระแสไฟฟ้าในหน่วยแอมแปร์ (A) t คือ เวลาในหน่วยวินาที (s) 1 C = 1 As อีกนัยหนึ่งคือ ถามอาจารย์ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  24. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • การใช้ปฏิกิริยาอิเล็กโทรไลซิสในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ น้ำหนักของสารที่เกิดขึ้นที่ electrode เมื่อทำการผ่านปริมาณไฟฟ้าจำนวน 96,487 C เข้าไปใน electrolytic cell จะเป็นน้ำหนักสมมูลของสารนั้น ซึ่งเป็นน้ำหนักที่เกิดขึ้นจากการที่ไอออนของโลหะรับ electron 1 mol จึงสามารถสรุปได้ว่า • ปริมาณไฟฟ้า 1 Faraday จะทำให้ผลิดผลที่ได้จาก Oxidation หรือ Reduction ในกระบวนการ เกิด Electrolysis หนักเท่ากับ 1 กรัมสมมูลเสมอ น้ำหนักของสารที่เกิดขึ้นที่ อิเล็กโตรด เมื่อทำการผ่านปริมาณไฟฟ้าจำนวน 96,487 C เข้าไปใน อิเล็กโทรไลซีส เซลล์ จะเป็นน้ำหนักสมมูลของสารนั้น ซึ่งเป็นน้ำหนักที่เกิดขึ้นจากการที่ไอออนของโลหะรับ อิเล็กตรอน 1 โมลจึงสามารถสรุปได้ว่าปริมาณไฟฟ้า 1 ฟาราเดย์ จะทำให้ผลิดผลที่ได้จาก ออกซิเดชั่น หรือ รีดักชั่น ในกระบวนการเกิดอิเล็กโทรไลซีส หนักเท่ากับ 1 กรัมสมมูลเสมอ การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  25. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • การใช้ปฏิกิริยาอิเล็กโทรไลซิสในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ พิจาณาปฏิกิริยา: Ag+ + e- Ag(s) Cu2+ + 2e-  Cu(s) ในการที่จะได้โลหะทองแดง 1 mol ต้องใช้ปริมาณไฟฟ้าเป็น 2 เท่าของปริมาณไฟฟ้าที่ทำให้เกิดโลหะ Ag 1 mol ปริมาณไฟฟ้าที่ต้องผ่านเข้าไปใน electrolytic cell เพื่อให้ electron 1 mol ทำปฏิกิริยาเพื่อเกิดปฏิกิริยา Oxidation-reduction เรียกว่า 1 faraday ดังนั้นในกรณีของ Ag+ และ Cu2+ จะเห็นว่าต้องใช้ปริมาณไฟฟ้า 1 faraday เพื่อทำให้ Ag+ กลายเป็น Ag(s) หนัก 107.87g และต้องใช้ปริมาณไฟฟ้า 2 faraday เพื่อให้ได้ Cu(s) 63.54g เมื่อพิจาณาปฏิกิริยา จะพบว่าในการที่จะได้โลหะทองแดง 1 โมล ต้องใช้ปริมาณไฟฟ้าเป็น 2 เท่าของปริมาณไฟฟ้าที่ทำให้เกิดโลหะ Ag 1 โมล ปริมาณไฟฟ้าที่ต้องผ่านเข้าไปใน อิเล็กโทรไลซีส เซลล์ เพื่อให้อิเล็กตรอน 1 โมล ทำปฏิกิริยาเพื่อเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น รีดักชั่น เรียกว่า 1 ฟาราเดย์ ดังนั้นในกรณีของ Ag+ และ Cu2+ จะเห็นว่าต้องใช้ปริมาณไฟฟ้า 1 faraday เพื่อทำให้ Ag+ กลายเป็น Ag(s) หนัก 107.87 กรัม และต้องใช้ปริมาณไฟฟ้า 2 ฟาราเดย์ เพื่อให้ได้ Cu(s) 63.54 กรัม ครับ การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  26. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา ปฏิกิริยาอิเล็กโทรลิซีส • การใช้ปฏิกิริยาอิเล็กโทรไลซิสในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ 1. มวลของสารที่เกิดขึ้นที่ Anode หรือ Cathode ขณะที่เกิด Electrolysis เป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณไฟฟ้าที่ผ่านเข้าไปในเซลล์ 2. มวลของสารต่างๆกันที่เกิดขึ้นในระหว่างการ electrolysis ที่ใช้ปริมาณ ไฟฟ้าเท่ากันจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับน้ำหนักสมมูลของสารนั้นๆ คลิกเพื่อแสดงตัวอย่าง • กฏอิเล็กโตรลิซิสของฟาราเดย์ ได้กำหนดไว้ว่ามวลของสารที่เกิดขึ้นที่แอโนดหรือ • แคโทด ขณะที่เกิดอิเล็กโทรไลซีส เป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณไฟฟ้าที่ผ่านเข้าไปใน • เซลล์ และมวลของสารต่างๆกันที่เกิดขึ้นในระหว่างการอิเล็กโทรไลซีสที่ใช้ปริมาณไฟฟ้าเท่ากันจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับน้ำหนักสมมูลของสารนั้นๆ ครับ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • เมื่อคลิกไอคอนตัวอย่างปรากฎ pop up คลิกไอคอนตัวอย่าง แสดงข้อความ ดังนี้ ตัวอย่าง: ถ้าผ่านกระแสไฟฟ้า 3.0 A เข้าไปในสารละลาย H2SO4เป็นเวลา 2 ชมคำนวณหา 1. น้ำหนัก O2ที่เกิดขึ้น 2. ปริมาตร H2ที่เกิดขึ้นที่ S.T.P. Anode: 1/2H2O  1/4O2(g) + H+(aq) + e- Cathode: H+(aq) + e-  1/2H2(g) ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ Q = It = 3.0A x (2h x 3600 s/h) = 21,600 As (Coulomb) ปริมาณไฟฟ้า 21,600 C คิดเป็น 21,600/96487 = 0.224 equivalence นั้นคือจำนวนสมมูลของ O2 และH2เท่ากับ 0.224 equiv 1. น้ำหนัก O2ที่เกิดขึ้น = 0.224 x 8 = 1.792 g 2. ปริมาตร 1 สมมูลของ H2ที่ S.T.P. = 11.2 L ดังนั้นปริมาตร H2 0.224 equiv จะเท่ากับ 0.224 x 11.2 = 2.52 L ที่ S.T.P.

  27. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา เคมีไฟฟ้ากับชีวิตประจำวัน • แบตเตอรีชนิดต่างๆ 1 เซลล์ไฟฟ้าเคมีชนิด galvanicเป็นเซลล์ไฟฟ้าที่สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งให้พลังงานได้ เนื่องจากปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นสามารถทำให้เกิดพลังงานไฟฟ้า ซึ่งจากที่ได้กล่าวในเบื้องต้น ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีที่เกิดขึ้นสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ และปฏิกิริยาที่ผันกลับไม่ได้ ซึ่งการใช้งาน Galvanic cell เพื่อเป็นแหล่งให้พลังงานไฟฟ้านั้น ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นไม่สามารถผันกลับได้ จะเรียกว่า ไพรมารี่เซลล์ และ ถ้าเป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้จะเรียกว่า เซเคิลการี่เซลล์ การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  28. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา เคมีไฟฟ้ากับชีวิตประจำวัน • เซลล์แบตเตอรี่สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว • ขณะที่สามารถจ่ายไฟได้ (Galvanic cell) Pb(s) + SO42-(aq)  PbSO4(s) + 2e-Anode ขั้วลบ PbO2(s) + 4H+(aq) + SO42- + 2e- PbSO4(s) + 2H2O Cathode ขั้วบวก • ขณะที่ชาร์ตไฟ (Electrolytic cell) PbSO4(s) + 2e- SO42- + Pb(s)Cathode ขั้วลบ PbSO4(s) + 2H2O  PbO2(s) + 4H+ + SO42- + 2e- Anode ขั้วบวก เมื่อมีการจ่ายไฟฟ้า ความเข้มข้นของกรดจะลดลงไปเรื่อยๆ ทำให้สามารถอาศัยค่าความถ่วงจำเพาะมาเป็นตัววัดปริมาณกรด ซึ่งจะทำให้สามารถบอกถึงสภาพการพร้อมใช้งานของแบตเตอรี่ได้ โดยตอนที่เซลล์มีศักย์ไฟฟ้าเต็มที่จะวัดค่าความถ่วงจำเพาะได้ 1.25 ถึง 1.30 และเมื่อค่าความถ่วงจำเพาะลดลงต่ำกว่า 1.20 ก็ควรที่จะทำการชาร์ตไฟและเติมกรดเพิ่ม • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  29. เคมีไฟฟ้ากับชีวิตประจำวันเคมีไฟฟ้ากับชีวิตประจำวัน • เซลล์เชื้อเพลิง 2H2(g) + 4OH-(aq)  4H2O + 4e-O2(g) + 2H2O + 4e-  4OH-(aq) โดยในการเกิดปฏิกิริยาข้างต้นจะต้องอาศัยตัวเร่งปฏิกิริยาได้แก่ Pt, Pd เมื่อพิจารณาปฏิกิริยารวม คือ 2H2(g) + O2(g)  2H2O เนื่องจากปัญหามลภาวะสิ่งแวดล้อมที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น เซลล์ไฟฟ้าชนิดนี้จึงกลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากเป็นแหล่งให้พลังงานที่สะอาด เซลล์ไฟฟ้าชนิดนี้จัดเป็นเซลล์ไฟฟ้าชนิดเซลล์ปฐมภูมิ การผลิตพลังงานไฟฟ้าอาศัยปฏิกิริยาระหว่างแก๊สที่เป็นเชื้อเพลิง เช่น ไฮโดรเจน และแก๊สที่เป็นตัวออกซิไดซ์ เช่น ออกซิเจน ซึ่งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นดังปรากฏบนหน้าจอ โดยในการเกิดปฏิกิริยาข้างต้นจะ ต้องอาศัยตัวเร่งปฏิกิริยาได้แก่ Pt, Pd เมื่อพิจารณาปฏิกิริยารวม จะเห็นได้ว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้คือน้ำซึ่งไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม และเมื่อพิจารณาถึงระบบรวมจะพบว่า สารตั้งต้นคือ H2และ O2สามารถผลิตได้จากการแยกน้ำด้วยไฟฟ้า ดังนั้นในปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาเพื่อที่จะนำเอาเซลล์เชื้อเพลิงแบบไฮโดรเจน-ออกซิเจนมาใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อเป็นการลดปัญหามลภาวะสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น การอ่านตัวย่อภาษาอังกฤษ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  30. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การสึกกร่อน • การเกิดสนิมเหล็กเกิดขึ้นจากการที่เหล็กสัมผัสกับน้ำหรือไอน้ำที่มีออกซิเจนละลายอยู่ ซึ่งปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ Fe(s)  Fe2+(aq) + 2e- O2(g) + 2H2O + 4e-  2OH-(aq) ซึ่งเมื่อรวมปฏิกิริยาการให้และรับอิเล็กตรอนเข้าด้วยกันจะได้ 2Fe(s) + O2(g) + 2H2O  Fe(OH)2(s) โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ Fe(OH)2 ไม่ละลายน้ำ และสามารถเกิดปฏิกิริยากับออกซิเจนต่อไปดังนี้ 4Fe(OH)2(s) + O2(g) + 2H2O 4Fe(OH)3(s) โดย Fe(OH)3ที่เกิดขึ้นนี้มีลักษณะขรุขระเป็นรูพรุนและมีสีน้ำตาลแดง ซึ่งรู้จักทั่วไปคือ สนิมเหล็ก ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่เกิดขึ้นจากการสึกกร่อน การเกิดสนิมและการสึกกร่อนที่เกิดขึ้นในโลหะ มักจะเป็นผลจากการเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ระหว่างโลหะและสิ่งแวดล้อม โดยผลการสึกกร่อนจะทำให้โลหะแปรสภาพเป็นสารประกอบของโลหะ เช่น การสึกกร่อนของเหล็กด้วยน้ำและออกซิเจนทำให้เกิดสนิมเหล็ก คือสารประกอบออกไซด์และไฮดรอกไซด์ของเหล็ก นอกเหนือจากน้ำและออกซิเจนแล้ว แก๊สต่างๆเช่น SO2และ CO2เมื่อละลายน้ำจะได้สารละลายที่มีฤทธิ์เป็นกรด ซึ่งสารละลายที่เป็นกรดหรือเกลือจะเป็นตัวการที่ดีในการเร่งการสึกกร่อนของโลหะ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด

  31. File : 15_1_01.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา การสึกกร่อน • วิธีการป้องกันการสึกกร่อนของโลหะ สามารถทำได้หลายวิธี แต่วิธีที่นิยมได้แก่ การปิดพื้นผิวโดยการเคลือบ สามารถใช้การทาสีหรือการเคลือบด้วยโลหะ ซึ่งจุดประสงค์หลักของวิธีนี้คือป้องกัน ไม่ให้พื้นผิวของโลหะสัมผัสกับความชื้นและ ออกซิเจน การเคลือบด้วยโลหะเช่น การเคลือบ กระป๋องด้วยดีบุก หรือโลหะอื่น สามารถทำได้ ทั้งโดยวิธีทางไฟฟ้า (การชุบโลหะ) หรือโดยการ จุ่มลงในโลหะที่หลอมเหลว การป้องกันการสึก กร่อนโดยวิธีปิดพื้นผิวนี้ถ้าไม่ครอบคลุมผิวทั้งหมด หรือมีรอยแตก จะทำให้เกิดการสึกกร่อนได้เร็วยิ่งขึ้นกว่าโลหะที่ไม่ถูกเคลือบ การปิดพื้นผิวโดยการเคลือบ ใช้สารยับยั้งการสึกกร่อน ใช้โลหะที่ว่องไวกว่า นักศึกษาสามารถคลิกเพื่อศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม วิธีป้องกันการสึกกร่อนของโลหะ สามารถทำได้หลายวิธี แต่วิธีที่นิยมได้แก่ การการปิดพื้นผิวโดยการเคลือบ ใช้สารยับยั้งการสึกกร่อน ใช้โลหะที่ว่องไวกว่า นักศึกษาสามารถคลิกเลือกรายละเอียดที่ต้องการศึกษาได้คะ • แสดงข้อความ ตรงกับเสียงพูด • เมื่อผู้เรียนคลิกเลือกหัวข้อนั้นๆ ให้ปรากฏกรอบทางด้านขวาพร้อมเสียงบรรยาย เมื่อคลิกเลือกปรากฏ ดังนี้ ใช้สารยับยั้งการสึกกร่อน เช่น การใช้เกลือโครเมตทาบนพื้นผิวเหล็กเพื่อให้เกิดปฏิกิริยาเป็น FeCrO4 ซึ่งเป็นสารที่มีความเฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยา เพื่อป้องกันไม่ให้เหล็กเกิดการสึกกร่อน ใช้โลหะที่ว่องไวกว่า เช่น การใช้สังกะสี หรือแมกนีเซียม ซึ่งสามารถให้อิเล็กตรอนได้ดีกว่าเหล็ก (มีค่า Eเป็นบวกน้อยกว่าเหล็ก) ซึ่งการป้องกันการสึกกร่อนวิธีนี้ทำโดยการต่อเส้นลวดไปยังโลหะที่ว่องไวกว่า ทำให้เหล็กไม่มีการสูญเสียอิเล็กตรอนแต่เป็นเพียงตัวกลางในการรับส่งอิเล็กตรอนเท่านั้น ทำให้ไม่เกิดการสึกกร่อนเกิดขึ้น

More Related