1 / 14

กลุ่มสินค้าปาล์มน้ำมัน

กลุ่มสินค้าปาล์มน้ำมัน. ความสำคัญของปาล์มน้ำมัน. อุตสาหกรรมด้านอาหาร เช่น น้ำมัน ทอด น้ำมันปรุงอาหาร มากา รีน ไอศกรีม ครีมเทียม นมเทียม เนยขาว เนยโกโก้ ขนมเค้ก ขนมปัง ฯลฯ

Download Presentation

กลุ่มสินค้าปาล์มน้ำมัน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่มสินค้าปาล์มน้ำมันกลุ่มสินค้าปาล์มน้ำมัน

  2. ความสำคัญของปาล์มน้ำมัน • อุตสาหกรรมด้านอาหาร เช่น น้ำมันทอด น้ำมันปรุงอาหาร มาการีนไอศกรีม ครีมเทียม นมเทียม เนยขาว เนยโกโก้ ขนมเค้ก ขนมปัง ฯลฯ • อุตสาหกรรมโอลิโอเคมิคอลใช้ประโยชน์สำหรับการผลิตสินค้าอุปโภค โดยผ่านกระบวนการทางเคมี ได้แก่ การทำกรดไขมันประเภทต่าง ๆทั้งกรดไขมันอิ่มตัว และกรดไขมันไม่อิ่มตัว เพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมมากมาย ได้แก่ กรอลอริก ใช้ทำเป็นเรซิน กรดปาล์มมิติก • อุตสาหกรรมไบโอดีเซล (พลังงานทดแทน/พลังงานทางเลือก)

  3. การผลิตปาล์มน้ำมันของโลกการผลิตปาล์มน้ำมันของโลก ที่มา : องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ, เดือนมกราคม 2556 สถานการณ์การผลิตปาล์มน้ำมัน • การผลิตของโลก ปี 2555/2556 ที่มา : องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ, เดือนมกราคม 2556

  4. ต้นการผลิต

  5. การตลาด บาท/กก.

  6. ข้อได้เปรียบ/ข้อเสียเปรียบข้อได้เปรียบ/ข้อเสียเปรียบ ข้อเสียเปรียบ 1. ต้นทุนการผลิตสูง ผลผลิตต่อไร่ต่ำ 2. ไม่สามารถกำหนดราคาเองได้ ต้องอ้างอิงจากตลาดโลก 3. ไม่มีการรับรองคุณภาพตามมาตรฐานสากล 4. ขาดการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ข้อได้เปรียบ 1. ประเทศไทยมีสภาพพื้นที่และภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการปลูกปาล์มน้ำมัน โดยปาล์มน้ำมันเป็นไม้ยืนต้นที่อนุรักษ์สภาพแวดล้อม และรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ เนื่องจากปาล์มน้ำมันใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในการเจริญเติบโตเทียบเท่ากับการเจริญเติบโตของป่าดงดิบในเขตร้อนชื้น 2. เป็นพืชยืนต้นที่มีอายุการให้ผลผลิตยาวนานและเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ต่อเนื่องทั้งปี อีกทั้งยังให้ผลผลิตเร็ว เพียง 3 ปี ก็เริ่มให้ผลผลิตแล้ว 3. ให้ผลผลิตน้ำมันต่อหน่วยพื้นที่สูงกว่าพืชน้ำมันอื่น 4. เป็นสินค้าที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ทั้งการบริโภค อุปโภค และสามารถนำไปใช้เป็นพลังงานทดแทน (ไบโอดีเซล) วัตถุดิบแทนน้ำมันเตา

  7. ข้อได้เปรียบ/ข้อเสียเปรียบข้อได้เปรียบ/ข้อเสียเปรียบ ข้อเสียเปรียบ 5. ประสิทธิภาพของโรงงานสกัดยังไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 6.การสร้างมูลค่าเพิ่ม ผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมัน 7.ขาดโรงงานอุตสาหกรรมต่อเนื่อง 8.ขาดหน่วยงานในการรับผิดชอบทุกด้าน ไม่มีหน่วยงานในการรับผิดชอบโดยเฉพาะ ที่ครอบคลุมทุกด้านของการผลิตปาล์มน้ำมันและอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม 9.มีการกำหนดราคาจำหน่ายน้ำมันปาล์มบริโภค ไม่เป็นไปตามกลไกการตลาด(42 บาท /ลิตร) ข้อได้เปรียบ 5. ส่วนต่าง ๆ ของปาล์มนำมันสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งหมด ในกระบวนการผลิตน้ำมันปาล์ม แบบ “Zero Waste หรือ ของเสียเหลือศูนย์” 6. เป็นพืชทางเลือกและความหวังของเกษตรกรในแหล่งปลูกใหม่ 7. พื้นที่การผลิตไม่เป็นพื้นที่ที่บุกรุกป่า ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม และเป็นเกษตรกรรายย่อย ซึ่งเป็นการกระจายรายได้ให้เกษตรกรได้มากขึ้น ทำให้เป็นสินค้าที่ต้องการของตลาดสหภาพยุโรป 8. รัฐมีนโยบายที่ชัดเจนในการส่งเสริม และสนับสนุนในการปลูกปาล์มน้ำมัน 9. ประเทศไทยมีแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ในประเทศ ที่มีต้นพ่อ ต้นแม่พันธุ์ ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมของไทยได้ดี 10. รัฐบาล สนับสนุนให้นำน้ำมันปาล์มไปใช้เป็นพลังงานทดแทน

  8. ปัญหา/ข้อจำกัดในการส่งเสริมปัญหา/ข้อจำกัดในการส่งเสริม 1. ต้นทุนปัจจัยการผลิตสูงและราคาผลปาล์มสดไม่แน่นอน 2. ขาดการพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่สร้างมูลค่าเพิ่ม 3. ลานเท ไม่ได้มาตรฐาน โดยการแยกลูกร่วง รดน้ำ และขาดหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบ 4. เกษตรกรรายย่อยมีต้นทุนสูงกว่าเกษตรกรรายใหญ่มาก 5. พื้นที่ปลูกใหม่ มีจุดรับซื้อน้อย ไม่มีโรงงาน ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสูง 6. แหล่งพันธุ์ดีมีจำนวนจำกัด 7.เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตปาล์มที่ไม่สุก(คุณภาพปาล์มน้ำมัน) 8. เกษตรกรขาดองค์ความรู้ในการจัดการสวนปาล์มน้ำมัน 9. การเกิดระบาดของศัตรูพืช(ด้วงแรด) ในพื้นที่ปลูกทดแทนสวนปาล์มเก่า

  9. ปัญหา/ข้อจำกัดในการส่งเสริมปัญหา/ข้อจำกัดในการส่งเสริม 10.ขาดแคลนแรงงาน ค่าแรงงานในการเก็บเกี่ยวผลผลิตสูง 11.ไม่มีการรวมกลุ่ม ขาดอำนาจในการต่อรอง 12.ภัยธรรมชาติ น้ำท่วม 13. เกษตรกรรอรับการสนับสนุนจากภาครัฐเพียงอย่างเดียว 14. เกษตรกรขาดแคลนเงินทุน เนื่องจากปาล์มน้ำมันเป็นพืชที่ตอบสนองต่อปัจจัยการผลิตสูง 15. ไม่ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ใบปาล์ม ปาล์มน้ำมันเป็นพืชที่ตอบสนองต่อปุ๋ยสูง การเข้าถึงหน่วยงานวิเคราะห์ได้ยาก 16. ไม่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยงานรัฐ 17.โรงงานมีการแยกซื้อลูกร่วง ในราคาสูง ทำให้มีลานเทที่ทำลูกร่วงขายโดยเฉพาะ 18.โรงงานขนาดเล็ก (หีบรวม) ทำให้ได้น้ำมันไม่มีคุณภาพ 19. มีการขยายพื้นที่ไปในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม ขาดแคลนแหล่งน้ำ

  10. แนวโน้มในการเพิ่ม /ลดพื้นที่ปลูก แนวโน้มมีการเพิ่มพื้นที่ปลูก เปลี่ยนพื้นที่ปลูกยางพารา ไม้ผล นาร้าง อ้อย กาแฟ สวนส้มมันสำปะหลัง เป็นปาล์มน้ำมัน ภาคใต้ยางพารา ไม้ผล นาร้าง กาแฟ ภาคตะวันออก อ้อย มันสำปะหลัง นาร้าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มันสำปะหลัง ภาคตะวันตก นาร้าง น้ำท่วมซ้ำซาก ภาคกลาง นาร้าง สวนส้ม

  11. ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตปาล์มน้ำมัน ปี 2556 สศก. เฉลี่ย 3.01 บาท( ณ, ไร่นา) เกษตรกรรายย่อย เฉลี่ย 3.40 บาท

  12. แนวทางการส่งเสริม เชิงรับ 1. สนับสนุนการวิจัย และพัฒนาสายพันธุ์ที่ให้เปอร์เซ็นต์น้ำมันสูง เทคโนโลยีใหม่ 2. สร้างแรงจูงใจระหว่างโรงงานและเกษตรกรให้มีการพัฒนาคุณภาพ และส่งเสริมให้เกษตรกรเป็นสมาชิกของโรงงาน เพื่อความมั่นคงในระบบการผลิต3.เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พื้นที่ในสวนปาล์มน้ำมัน เช่น การเลี้ยงแพะ เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา เลี้ยงกบในร่องสวน การปลูกพืชแซมในระยะปาล์มน้ำมันยังไม่ให้ผลผลิต เชิงรุก 1. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - ลดต้นทุนการผลิต - เพิ่มผลผลิตต่อไร่ - พัฒนาคุณภาพผลผลิต โดย ใช้พันธุ์ดี มีคุณภาพ จากแหล่งที่เชื่อถือได้ การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน – ใบปาล์ม ปลูกทดแทนสวนปาล์มเก่า ด้วยปาล์มพันธุ์ดี การจัดการสวนที่ดีคัดเลือกต้นปาล์มให้ทุกต้นมี ผลผลิต ส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อควบคุมคุณภาพ ผลผลิต รวบรวมผลผลิต (สหกรณ์)

  13. แนวทางการส่งเสริม เชิงรับ 4. บริหารจัดการสต็อกน้ำมันปาล์มให้สมดุล กับปริมาณการใช้ในประเทศ ทั้งเพื่อการอุปโภค บริโภคและพลังงานทดแทน 5. ผลักดันให้มี พรบ.ปาล์มน้ำมัน ที่มีข้อบังคับครอบคลุมทุกประบวนการของอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน เชิงรุก 2. ส่งเสริมให้มีการใช้มาตรฐานปาล์มน้ำมัน - มาตรฐานทะลายปาล์ม - มาตรฐาน GAP - มาตรฐานลานเท โดย มีการกำหนดข้อบังคับ แนวทางการปฏิบัติและบทลงโทษ 3. ศูนย์เรียนรู้การผลิตปาล์มน้ำมัน ที่มีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง

  14. แนวทางการส่งเสริม เชิงรุก 4. ผลักดันให้โรงงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน /พัฒนาโรงงานขนาดเล็ก (หีบรวม) และการปรับเปลี่ยนโรงงานให้เหมาะสม 5. บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งด้านการผลิต การตลาด อุตสาหกรรม และโรงงาน 6. การประชาสัมพันธ์ และสร้างจิตสำนึกให้เกษตรผลิตปาล์มน้ำมันที่คุณภาพและการใช้ประโยชน์จากน้ำมันปาล์ม 7. ส่งเสริมการใช้ภายในของประเทศ ทั้งการอุปโภค บริโภค และพลังงานทางเลือก

More Related