1 / 108

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม. วันที่ ๑ - ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว. การเรียนรู้ร่วมกันวันที่ ๑. กิจกรรมที่ ๑ รู้จักกัน กิจกรรมที่ ๒ เตรียมความพร้อมสู่การเรียนรู้ ๒.๑ ชี้แจงวัตถุประสงค์ ๒.๒ ข้อตกลงการเรียนรู้ร่วมกัน

candid
Download Presentation

การอบรมเชิงปฏิบัติการ : การเตรียมความพร้อมครู ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ :การเตรียมความพร้อมครูระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม วันที่ ๑ - ๔ เมษายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว

  2. การเรียนรู้ร่วมกันวันที่ ๑ กิจกรรมที่ ๑ รู้จักกัน กิจกรรมที่ ๒ เตรียมความพร้อมสู่การเรียนรู้ ๒.๑ ชี้แจงวัตถุประสงค์ ๒.๒ ข้อตกลงการเรียนรู้ร่วมกัน กิจกรรมที่ ๓ สถานการณ์เรื่องเพศของวัยรุ่น “สถานีรู้เขารู้เรา กิจกรรมที่ ๔ เพศวิถีและเพศศึกษารอบด้าน “เส้นชีวิต” กิจกรรมที่ ๕ ธรรมชาติของวัยรุ่น “ย้อนรอยวัยรุ่น” กิจกรรมที่ ๖ ดูหนัง Freedom Writers สิ่งสำคัญที่ได้เรียนรู้ ?

  3. สิ่งที่ได้เรียนรู้จากวันวานสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวันวาน • ธรรมชาติของวัยรุ่นเหมือนกันทุกยุคสมัย • รับรู้ปัญหาของวัยรุ่นมีความแตกต่างในแต่ละคน การแก้ปัญหา จึงต้องแก้ไปตามสถานการณ์ • การให้ภูมิคุ้มกัน และการช่วยเหลือดูแล(บำรุงรักษา) เพื่อให้เด็กปลอดภัย • แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน • เห็นบทบาทของครู • ความแตกต่างในช่วงอายุ • ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงในเรื่องเพศ • พฤติกรรมมีการปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย • เห็นมุมมองชีวิตของวัยรุ่นและผู้ใหญ่ • ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น เช่นสภาพแวดล้อม, เทคโนโลยี

  4. กระบวนการเรียนรู้ บริบททางสังคมวัฒนธรรม เพศวิถีSexuality เยาวชน

  5. กระบวนการเรียนรู้ บริบททางสังคมวัฒนธรรม เส้นชีวิต เพศวิถีSexuality หนัง Freedom writers รู้จักกัน เยาวชน ย้อนรอย สถานีรู้เขารู้เรา

  6. Apply วางแผนประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) Do มี/ผ่านประสบการณ์ Analyze/Synthesis คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์ เชื่อมร้อยกับประสบการณ์เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จำลอง” ในการเรียนรู้

  7. จับกลุ่ม: เล่าเรื่องสมัยวัยรุ่น Do ทำกิจกรรม/ สร้างประสบการณ์ร่วม การนำไปใช้กับการทำงานกับเด็ก ลักษณะความเป็นวัยรุ่นสมัยเรา Apply ประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ เติมข้อมูลใหม่ Analyze/Synthesize คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป เปรียบเทียบความเป็นวัยรุ่นยุคก่อน: ยุคนี้ สไลด์โสเครติส

  8. ทิศทางเพศศึกษาในสถานศึกษาคำตอบอยู่ที่ ... ? Act now! เราทุกคน..ลงมือทำ

  9. ความท้าทายของครูทำงานเพศศึกษาความท้าทายของครูทำงานเพศศึกษา ทันเหตุการณ์ เนื้อหา/วิธีการน่าสนใจ เจาะใจเด็ก คิดเป็น สังคม ปัจจัยเสี่ยง: สาเหตุของเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกัน วิถีชีวิตวัยรุ่น • พฤติกรรมทางเพศ • เรื่องเพศที่วัยรุ่นสนใจ • ช่องทางการเรียนรู้ ปัจจัยเสริม: วัยรุ่นจะมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย/รับผิดชอบ ถ้า...

  10. (ร่าง) การอบรมครูเพศวิถีศึกษาเพื่อเยาวชน

  11. โครงการรณรงค์ สร้างความตระหนัก เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในวัยรุ่นในสถานศึกษา

  12. วัตถุประสงค์ UpToMe • พัฒนารูปแบบ และทดลองใช้ ชุดกิจกรรม UpToMeเพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องเพศ และป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ • ให้เยาวชน ได้รับข้อมูล เกิดความตระหนัก • สำรวจความรู้สึกหากต้องเผชิญสถานการณ์ในเรื่องเพศ • เรียนรู้ถึงบริบทอันนำไปสู่การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ • รับรู้ถึง วิธีลดความเสี่ยงที่จะมีเพศสัมพันธ์โดยไม่พร้อม ผ่านกระบวนการสื่อสารผ่านกลุ่มเยาวชน โดยการถกเถียง ตั้งคำถาม ๓. เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียน และครูในสถานศึกษาตื่นตัว เห็นความสำคัญ และเกิดความสนใจที่จะจัดให้เกิดการเรียนการสอนเพศศึกษาในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

  13. ดูหนังกัน“ทางเลือก”ตอนที่

  14. การตัดสินใจ กลุ่มที่ ๑ , ๒และ ๓ เป็นออย • ออยมีทางเลือกอะไรบ้าง • แต่ละทางเลือกมีผลตามมาอย่างไร • ถ้าไม่อยากให้เกิดผลที่ตามมาในแง่ลบ ออยจะทำอย่างไร กลุ่มที่ ๔, ๕ และ ๖ เป็นธัญ • ธัญจะตัดสินมีเพศสัมพันธ์หรือไม่ เพราะอะไร • การตัดสินใจแบบนั้นจะมีผลตามมาอย่างไร • ถ้าไม่อยากให้เกิดผลที่ตามมาในแง่ลบ ธัญจะทำอย่างไร

  15. ทางเลือก • ไป เพราะไม่กล้า/ไม่อยากปฏิเสธธัญ, ชอบธัญ, รัก, เชื่อใจ,อยากใกล้ชิด ผลตามมา คือ พลาดได้ ท้องได้ อารมณ์พาไป, ได้แฟนต่อ ออยจะทำอย่างไร....ชวนเพื่อนไปด้วย, หักห้ามใจ, ไม่อยู่ในที่ลับตา • ไม่ไป เพราะเพื่อนเตือน ออยจะทำอย่างไร....ชวนไปเดินห้าง, เที่ยวบ้านออย, อ้างประจำเดือน • มีเพศสัมพันธ์ เพราะสภาพแวดล้อมพาไป ผลที่ตามมา....มี sex ครั้งต่อไป • ไม่มีเพศสัมพันธ์...เพราะพ่อสอนมาดี จะได้ไม่มีปัญหาตามมา

  16. กระบวนการตัดสินใจ • หา “โจทย์” ให้เจอ - - เรื่องที่เราต้องตัดสินใจ คืออะไร • คิดถึงทางเลือกทั้งหมดที่มี • หาความเป็นไปได้ของผลที่จะเกิดขึ้นจากแต่ละทางเลือก • ประเมินความเสี่ยงที่อาจมีของแต่ละทางเลือก • ประเมินว่าเราจะคิด/รู้สึก/เผชิญ/รับผิดชอบ กับผลที่ตามมาจากการตัดสินใจเราได้หรือไม่ อย่างไร • ทั้งถ้าผลไม่เป็นไปตามที่เราคาด เราได้เตรียมการณ์ไว้อย่างไรหรือไม่ • ตัดสินใจ

  17. วัตถุประสงค์ กิจกรรมตอนที่ ๑: ทางเลือก ทางไหน • ประเมินโอกาสเสี่ยงในการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น การเตรียมคิดและเตรียมการณ์เรื่องการป้องกัน/มั่นใจว่าจะมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย • เห็นทางเลือกที่รอบด้าน และผลที่ตามมาในการตัดสินใจ • บอก “ทางเลือก” ที่เหมาะกับตัวเรา และเราสามารถทำได้จริง

  18. กิจกรรมชุดที่ ๑ : ทางเลือก ทางไหน ? จับฉลากโจทย์ • ถ้าเป็น “ออย” ตัดสินใจ “ไม่ไป” จะบอกธัญอย่างไรโดยไม่โกรธกันและยังรักกันเหมือนเดิม • ถ้าเป็น “ออย” ตัดสินใจ “ไป” จะไปอย่างไรโดยไม่ให้มีเซ็กส์ • ถ้าเป็น “ออย” ตัดสินใจ “ไป” หากมีเซ็กส์ จะแน่ใจได้อย่างไรว่าจะปลอดภัย (ต้องทำอย่างไร, เตรียมอะไร อย่างไร, ใครเตรียม) • หากออย “ไม่ไป” “ธัญ” จะชวนต่ออย่างไร • ถ้าออยไป “ธัญ” คิดว่า จะมีเซ็กส์ หรือไม่

  19. บทสรุป • ทางเลือกของเราแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน แต่ที่สำคัญคือ เราต้องคิดให้รอบด้านก่อนตัดสินใจเลือก หากเราเห็นทางเลือกที่หลากหลาย และได้คิดถึงผลที่จะตามมาของแต่ละทางเลือก จะช่วยให้เราตัดสินใจ และเตรียมตัวได้ดีขึ้น

  20. ดูหนังกัน“ทางเลือก”ตอนที่

  21. Sex Quiz • ประจำเดือนมาวันที่ ๑๘-๒๒ มกราคม ระยะปลอดภัยในการร่วมเพศ ที่เรียกว่าการนับ หน้า ๗ หลัง ๗ คือวันที่ ........... และ ........... • ยาคุมฉุกเฉินสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ภายหลังร่วมเพศได้ แต่ต้องกิน เม็ดแรก ภายใน ....... ชั่วโมงหลังจากมีเพศสัมพันธ์ และกินเม็ดที่สอง ภายใน ........ ชั่วโมง หลังจากเม็ดแรก ซึ่งจะป้องกันได้ ........% • ระยะเวลาที่สามารถยุติการตั้งครรภ์ได้อย่างปลอดภัย คือ เมื่ออายุครรภ์ไม่เกิน ........... สัปดาห์ นับจากวันที่ประจำเดือนมาครั้งสุดท้าย • หญิงและชายมีเพศสัมพันธ์อายุต่ำกว่า .................. ปี ถือว่าผิดกฎหมาย • การหลั่งภายนอก คือ วิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ที่มีโอกาสผิดพลาดได้มาก ใช่หรือไม่

  22. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๑ ๒ ๓ ๔ การนับ “ระยะปลอดภัย” หรือ “หน้าเจ็ดหลังเจ็ด” เริ่มมีประจำเดือนวันแรก

  23. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ใช้ไม่ได้กับทุกคน ต้องเป็นคนมีรอบเดือนสม่ำเสมอ (เช่น มาทุก ๒๘ วัน) นับให้ถูก ยึดวันที่ประจำเดือนมาวันแรกในการนับ ไม่ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคทางเพศสัมพันธ์ การนับ “ระยะปลอดภัย”หรือ“หน้าเจ็ดหลังเจ็ด” หน้าเจ็ด หลังเจ็ด

  24. Sex Quiz ๖. ในการกินยาคุมกำเนิดครั้งแรก (แผงแรก) ต้องกินเม็ดแรก ภายใน ............. วัน นับจากวันที่มีประจำเดือนวันแรก แต่จะมีผลป้องกันการตั้งครรภ์ได้ หลังจากกินไป ............ วัน ๗. การกินยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดแผง ต้องกินติดต่อกันทุกวัน - ถ้าลืมกิน ๑ วัน ให้กิน ๒ เม็ดในวันรุ่งขึ้น ใช่หรือไม่ - ถ้าลืมกิน ๒ วัน ให้กิน ๒ เม็ด ในวันที่สาม และอีก ๒ เม็ดในวันที่สี่ ใช่หรือไม่ ๘. การสวมถุงยางอนามัยเมื่อร่วมเพศ สามารถป้องกัน ก. เอดส์ ข. โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ค. การตั้งครรภ์ ง. มะเร็งปากมดลูก จ. ถูกทั้ง ก ข และ ค ฉ. ถูกทุกข้อ ๙. จงบอก website ภาษาไทยที่สามารถให้คำปรึกษาเรื่องเพศได้ตามหลักวิชาการ ๑๐. จงบอกหน่วยงานและเบอร์โทรศัพท์ที่สามารถให้คำปรึกษาเรื่องสุขภาพทางเพศ และการตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมในจังหวัดของเรา อย่างน้อย ๒ แห่ง

  25. วัตถุประสงค์ จกรรมตอนที่ ๒: รู้ทัน ก่อนเลือก • สำรวจเรื่อง โอกาสเสี่ยงในการใช้ชีวิตทางเพศ วิธีป้องกัน/เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย และความรับผิดชอบในสัมพันธภาพผ่านตัวละครเป้งกับ แหวว • ฝึกวิธีการบอกความรู้สึก/สื่อสาร ให้เพื่อนรับรู้ความรู้สึก/ความห่วงใยของเรา • ทบทวน และเพิ่มเติม ความรู้เรื่องเพศ

  26. กิจกรรมชุดที่ ๒ : “รู้ทัน ก่อนเลือก” จากที่เราเห็นการใช้ชีวิต (ทางเพศ) ของเป้ง และแหวว • อยากบอก “แหวว” ว่า .... • อยากบอก “เป้ง” ว่า .... (ชวนคุยเพิ่มเติม: ถ้าเป็นแหวว เราจะทำได้แบบแหววไหม? (บอกเป้ง, พกถุงยาง,) • แจกแผ่น Quiz ให้แต่ละคนทำ (หรืออยู่ในสมุดโน๊ต

  27. ดูหนังกัน“ทางเลือก”ตอนที่

  28. กิจกรรมชุดที่ ๓ : “เลือกแล้ว รับผิดชอบ” ๑. ถ้าเราตกอยู่ในสถานการณ์ “ท้องไม่พร้อม” เราจะเลือกทางไหน เพราะอะไร และจะเตรียมตัวอย่างไรกับทางที่เลือก ? • ถ้า “ออยกับธัญ” เป็นลูกศิษย์เรา และเลือกทำแท้ง เรารู้สึก/คิดยังไง • ถ้า “ออยกับธัญ” เป็นลูกศิษย์เรา และเลือกท้องต่อ เรารู้สึก/คิดยังไง

  29. สถานการณ์ “ท้องไม่พร้อม” • ทำแท้ง : อาย, รู้สึกผิด, ไม่มีทางเลือก, อยากเรียนต่อ • ตั้งครรภ์ :ปรึกษาผู้ปกครอง, ไม่ผิดศีลธรรม, ความรับผิดชอบของผู้ชาย • การตัดสินใจควรมาจากเด็กกับครอบครัว โดยที่ครูเป็นเพียงผู้ชี้แนะ, ดูอายุครรภ์ • เด็กเลือกทำแท้ง: บอกกับเด็กเป็นบาปติดตัว, เศร้า, แย่ , ผิดหวัง, ยอมรับ, อยู่คียงข้างเด็ก, แนะนำว่าจะทำยังไงต่อไป, ผิดศีลธรรม, เสียใจ, เป็นห่วง, ฟังเหตุผล • เด็กเลือกท้องต่อ: รู้สึกดี, ดีใจที่เลือกชีวิตมากกว่าฆ่าชีวิต, ดีที่มีคุณธรรม, ไม่ทำร้ายเด็กและตัวเอง

  30. วัตถุประสงค์ตอนที่ ๓: เลือกแล้ว รับผิดชอบ • สำรวจ และสะท้อน ถึง ปฏิกิริยา และวิธีปฏิบัติ ที่ไม่ทำร้าย คนท้องไม่พร้อม • รู้ทางเลือกที่ “ปลอดภัย” ในการจัดการหากเผชิญสถานการณ์ท้องไม่พร้อมและรู้แหล่งให้คำปรึกษา บริการสุขภาพทางเพศ • แสวงหาคำปรึกษาจากผู้ใหญ่ที่ไว้ใจ

  31. กิจกรรมชุดที่ ๓ : “เลือกแล้ว รับผิดชอบ” ในฐานะ ...... จะบอก/ปฏิบัติ กับ “ออยและธัญ” อย่างไร ? • แต่ละทีมจับฉลากบท • พ่อแม่ออย • พ่อธัญ • เพื่อนสนิท (เลือก แหวว, กุ้ง, อุ่น, เป้ง, หรือตั้ม) • ครูนันทา • เพื่อนในห้อง/ในโรงเรียน ถ้า “ออยกับธัญ” เลือก... • ทำแท้ง • ท้องต่อ

  32. กิจกรรมรวม กลุ่มใหญ่ • สรุปการดูหนัง และกิจกรรมทั้ง ๓ ส่วนสั้นๆ • ชวน “คนท้อง” ๔ คน คุย... • รู้สึกอย่างไร ? • ถ้าท้องจริง จะทำอย่างไร ใช้ชีวิตทำกิจกรรมตามปกติ ได้ไหม ? • มีข้อแนะนำกับเพื่อนที่อาจจะท้องโดยไม่พร้อมอย่างไร ?

  33. กิจกรรมสุดท้าย....รายบุคคลกิจกรรมสุดท้าย....รายบุคคล แจกกระดาษ ให้แต่ละคนตอบ • ได้อะไรจากหนัง ? • ชอบตัวละครตัวไหนมากที่สุด เพราะอะไร ?

  34. แนะนำแหล่งข้อมูลและบริการแนะนำแหล่งข้อมูลและบริการ • บริการ lovecare หรือบริการปรึกษาในจังหวัด บอกเบอร์โทรศัพท์ • Websites เรื่องเพศ www.teenpath.net www.lovecarestation.com www……. • การเรียนรู้เพศศึกษา

  35. การสำรวจสถานการณ์การทำแท้งในประเทศไทย 2542 จากรพ.รวม 757 แห่ง;** จากจำนวนผู้ป่วยแท้ง 45,990 ราย • ทำแท้งเอง • แพทย์ทำให้ในโรงพยาบาลรัฐ • ผู้อื่นทำให้

  36. ประเทศไทยยุติการตั้งครรภ์ได้ ในกรณีต่อไปนี้ • การตั้งท้องเป็นอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพของผู้หญิง • ผู้หญิงมีอาการทางจิตก่อน หรือขณะตั้งท้อง • การตั้งท้องเกิดจากการข่มขืน • การตั้งท้องโดยที่ผู้หญิงอายุต่ำกว่า ๑๕ปี ข้อ ๑-๓ตามประมวลกฎหมายอาชญามาตรา ๓๐๕ (๑) (๒) และข้อบังคับแพทยสภา ๒๕๔๘ ข้อ ๔ตามประมวลกฎหมายอาชญามาตรา ๒๗๖-๒๘๔

  37. วิธีการทำแท้งที่ผู้หญิงเลือกใช้วิธีการทำแท้งที่ผู้หญิงเลือกใช้ ประจำเดือนขาด ทดสอบว่าตั้งท้องจริง(ทดสอบเอง) ทุบท้อง บีบท้อง กินยาขับเลือดตามสูตรที่ได้ยินมา เหน็บยา เหน็บเอง เหน็บในสถานพยาบาล ปรึกษาร้านขายยา สถานที่บริการทำแท้ง เหน็บยา ปรับประจำเดือน ขูดมดลูก ให้สารเร่งบีบมดลูก จาก กนกวรรณ ธราวรรณ 2544 ฯลฯ

  38. วิธีการทำแท้งที่ปลอดภัยวิธีการทำแท้งที่ปลอดภัย

  39. วิธียุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยภายใต้การดูแลของแพทย์วิธียุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยภายใต้การดูแลของแพทย์ ๑. การดูดเนื้อรกจากโพรงมดลูก (MVA) วิธีการนี้สามารถทำได้จนถึงอายุครรภ์ประมาณ ๑๐-๑๒ สัปดาห์ อุปกรณ์ที่ใช้งานดังกล่าวนี้ มีลักษณะเป็นหลอดพลาสติกขนาดต่างๆ ประกอบคู่กับกระบอกดูดสุญญากาศ เมื่อแพทย์สอดหลอดพลาสติกเข้าไปในโพรงมดลูกแล้ว สามารถดูดชิ้นเนื้อออกจากโพรงมดลูกได้ ซึ่งสามารถทำให้เกิดการแท้งสมบูรณ์ได้เกือบร้อยละ ๑๐๐

  40. วิธียุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยภายใต้การดูแลของแพทย์วิธียุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยภายใต้การดูแลของแพทย์ ๒. การใช้ยายุติการตั้งครรภ์ แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ • การใช้ยา Mifepristone (RU486) ร่วมกับMisoprostolในช่วงอายุครรภ์ก่อน ๙ สัปดาห์ ซึ่งมีอัตราการแท้งสมบูรณ์ได้มากกว่าร้อยละ ๙๕ ซึ่งสูตรการใช้ยาแบบนี้ ได้รับการรับรองโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) • การใช้ยา Misoprostolเพียงอย่างเดียว ในกรณีที่อายุครรภ์อยู่ในช่วง ๑๒-๒๐ สัปดาห์ สามารถทำให้เกิดการแท้งสมบูรณ์ได้มากกว่าร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป

  41. ไม่มีผู้หญิงคนไหนในโลกนี้ ที่ตั้งใจท้อง เพื่อ จะไปทำแท้ง

  42. ได้คิด ได้ตัดสินใจ เด็กริเริ่มแต่มีผู้ใหญ่ ร่วมตัดสินใจ ระดับการมีส่วนร่วม...ระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ เด็กริเริ่ม เด็กกำหนด ผู้ใหญ่ริเริ่มแต่เด็กมีส่วนร่วมตัดสินใจ ขอคำปรึกษาเด็ก ได้คิด ไม่ได้ตัดสินใจ ถูกมอบหมายให้ทำแต่รับทราบก่อน ทำพอเป็นพิธี ไม้ประดับ ไม่ได้คิด ไม่ได้ตัดสินใจ ถูกบงการ จาก... หนังสือการมีส่วนร่วมของเด็ก..การทำพอเป็นพิธีสู่ความเป็นประชาชน

  43. ต้องเชื่อว่า ทุกคนมีต้นทุนที่ดี มองทะลุปัญหา หา “ของดี - ต้นทุน” ในตัว ทำให้เยาวชนเห็น “ต้นทุน” ที่ตัวเองมี ได้ลองใช้ และรู้ว่าจะใช้อย่างไรในอนาคต ภารกิจระยะยาว ต้องการความมุ่งมั่น รอคอย การพัฒนาเยาวชนเชิงบวก

  44. การพัฒนาเยาวชนเชิงบวก (Positive youth Development) • “การสร้างต้นทุนชีวิตของเยาวชน จึงมีความจำเป็นอย่างมากและเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้เยาวชน ครอบครัวและสังคมเกิดภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงเพื่ออนาคตของประเทศชาติต่อไป” • “การดูแลป้องกันสุขภาพทั้งกายใจและสังคมของเยาวชน ไม่เพียงแต่ป้องกันเยาวชนในยุคปัจจุบัน แต่ยังช่วยสร้างผู้ใหญ่ที่มีคุณลักษณะที่ดีในอนาคตด้วยและเป็นสิ่งที่ท้าทายผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพเยาวชนเป็นอย่างมากในการที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสี่ยง” “วันนี้คุณจับถูก (ไม่ใช่จับผิด) คนที่คุณรักและคนรอบข้างคุณ แล้วหรือยัง ?”

  45. กิจกรรม : ใครเอ่ย(ข้อเท็จจริงและความเชื่อเรื่องเพศ)

  46. ๓. ความสุขทางเพศขึ้นอยู่กับขนาดของอวัยวะเพศชาย เป็นความเชื่อ ว่า ต้องใหญ่, ยาว ถ้าเชื่อ ผล= ? • ข้อเท็จจริง: • ไม่เกี่ยวกับขนาด • ความสุขขึ้นอยู่กับ • ความพึงพอใจของทั้งสองฝ่าย • เทคนิค • การพูดคุยบอกความต้องการของตนเอง • ผู้ชายกังวลเรื่องขนาด เสียความมั่นใจ • นำไปสู่การดัดแปลงอวัยวะเพศ ฉีดน้ำมันมะกอก, ฝังมุก - มีผลต่อสุขภาพ • ละเลยความรู้สึก/ความสุขของผู้หญิง • ส่งเสริมธุรกิจ เช่น ยาทน

  47. ๗. หญิงบริสุทธิ์ต้องเลือดออกเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก เป็นความเชื่อ ความเชื่อนี้ส่งผลต่อ การให้คุณค่าต่อผู้หญิงบริสุทธิ์ ซึ่งก่อให้เกิดความเชื่อชุดใหม่ในเรื่องวิธีการบอกว่าหญิงคนไหนเคยมีเพศสัมพันธ์มาก่อน เช่น - ผู้ชายคิดว่าบอกได้ว่าใครซิง จึงไม่ใช้ถุงยาง - ผู้หญิง หาวิธี ที่ทำให้มีเลือดออก เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ - การระแวงในความสัมพันธ์ หรือ ไม่ป้องกันเพราะมั่นใจว่าซิง ข้อเท็จจริง: เยื่อพรหมจรรย์ เหมือนส่วนอื่นๆ ที่ผู้หญิงแต่ละคนไม่เหมือนกัน และไม่จำเป็นที่จะต้องมีเลือดออกเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก

  48. เยื่อพรหมจรรย์

  49. ๑๓. ความต้องการทางเพศของชายมีมากกว่าหญิง เป็นความเชื่อซึ่งส่งผล: ชายมีความต้องการแล้วต้องปลดปล่อย (เปลี่ยนคู่นอน, มีคู่หลายคน, ข่มขืน, มีเมียน้อย, ฯลฯ) หญิง ถูกสอนว่า ไม่ควรแสดงออกหากต้องการ ข้อเท็จจริง: ความต้องการทางเพศ ทั้งหญิงชายมีเหมือนกัน ส่วนเรื่องมาก/น้อยเป็นเรื่องของบุคคล สังคม กำหนดให้หญิงชายแสดงออกในเรื่องเพศได้ต่างกัน

More Related