1 / 18

กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. การจัดการสุขาภิบาลอาหาร เพื่อควบคุม คุณภาพอาหาร และน้ำดื่ม. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. การสุขาภิบาลอาหาร.

Download Presentation

กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การจัดการสุขาภิบาลอาหาร เพื่อควบคุม คุณภาพอาหาร และน้ำดื่ม

  2. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การสุขาภิบาลอาหาร การจัดการและควบคุม ป้องกัน ให้อาหารปลอดภัยจากเชื้อโรค พยาธิและ สารเคมีที่มีพิษต่างๆ ซึ่งเป็นอันตรายต่อ การเจริญเติบโตของร่างกาย สุขภาพอนามัยและการดำรงชีวิตของมนุษย์

  3. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและควบคุมอาหารให้สะอาดปลอดภัย 1. สถานที่ปรุง ประกอบอาหาร 2. อาหาร 3. คน 4. ภาชนะอุปกรณ์ 5. แมลงและสัตว์นำโรค

  4. สถานที่เตรียมประกอบปรุงหรือห้องครัวและสถานที่รับประทานอาหารสถานที่เตรียมประกอบปรุงหรือห้องครัวและสถานที่รับประทานอาหาร กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร สำรวจความเสียหายและสะสางวัสดุอุปกรณ์ เฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ ล้างทำความสะอาดตัวอาคาร พื้น ผนัง เพดาน รวมถึงจุดเสี่ยงและแหล่งสะสมสิ่งสกปรกให้สะอาด ปราศจากสิ่งปฏิกูล มูลฝอย หยากไย่ ฝุ่นละออง คราบสกปรก และอื่นๆ รวมทั้ง ต้องมีการฆ่าเชื้อโรคด้วยน้ำยาคลอรีน และกำจัดสัตว์พาหะนำโรค

  5. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การทำความสะอาดและการบำรุงรักษา ต้องรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ ควรจัดเก็บสารเคมีทำความสะอาดและสารเคมีอื่นๆ แยกออกจากบริเวณที่เกี่ยวกับอาหาร มีป้ายระบุชนิดอย่างชัดเจนเพื่อป้องกันการนำไปใช้ผิด

  6. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร วัตถุดิบอาหาร และอาหารปรุงสำเร็จ อาหารสด คัดเลือกส่วนที่เสียทิ้งไปก่อนนำมาทำอาหาร และล้างให้สะอาด หากวัตถุดิบอาหารดังกล่าวได้รับความเสียหายจากน้ำท่วม หรือมีความเสี่ยงในการสัมผัสเชื้อโรคหรือสารเคมีควรกำจัดทิ้ง จัดเก็บอาหารไว้ในตู้เย็นที่มีอุณหภูมิเหมาะสม โดยล้างทำความสะอาดตู้เย็น ควรตัดระบบไฟฟ้าก่อนทำความสะอาด และฆ่าเชื้อโรคก่อนการเปิดใช้งาน อาหารแห้ง มีสภาพดี ไม่ขึ้นรา เก็บในที่แห้ง แยกเป็นสัดส่วน เก็บในภาชนะที่สะอาด มีการปกปิด อาหารแห้งที่บรรจุหีบห่อถ้ามีลักษณะหีบห่อผิดไปจากปกติ บวม ขึ้นรา ฉีกขาด ควรกำจัดทิ้ง

  7. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร การจัดการวัตถุดิบ และอาหารปรุงสำเร็จ อาหารกระป๋อง อาหารกระป๋องและสารปรุงแต่งอาหารต้องมีฉลากอาหารถูกต้อง มีเครื่องหมาย อย. สังเกตลักษณะบรรจุภัณฑ์ว่ามีความเสียหายหรือผิดปกติหรือไม่ เช่น กระป๋องบุบ บวม หรือมีสนิม ควรกำจัดทิ้ง อาหารกระป๋องที่เปิดแล้ว ถ้าเหลือต้องเปลี่ยนเก็บในภาชนะ ที่สะอาด ปิดมิดชิด และเก็บในตู้เย็น อาหารปรุงสำเร็จ เก็บในภาชนะที่สะอาด มีการปกปิด ปรุงอาหารให้สุกอย่างทั่วถึง มีการอุ่นอาหาร วางสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม.

  8. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร น้ำดื่ม น้ำแข็ง น้ำดื่ม น้ำดื่มในภาชนะบรรจุปิดสนิท มีเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน น้ำกรอง ต้มและบรรจุในภาชนะบรรจุที่สะอาด มีการปกปิด น้ำแข็งสำหรับบริโภค ภาชนะบรรจุสะอาด สูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. ใช้อุปกรณ์สำหรับตัก ไม่แช่สิ่งของอื่นในน้ำแข็งสำหรับบริโภค

  9. สุขวิทยาส่วนบุคคล กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร เน้นให้ความรู้ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล ประชาสัมพันธ์ให้บริโภคอาหารปรุงสุกและอุ่นให้ร้อนทั่วถึงทุกมื้อ และใช้ช้อนกลางในการรับประทานอาหาร 1. ก่อนเริ่มเตรียม ปรุง อาหาร 2. สัมผัสสิ่งสกปรก เช่น เส้นผม ขยะ เข้าห้องน้ำ หรือหยิบจับอาหารสด 3. ก่อนและหลังรับประทานอาหาร หมั่นล้างมือทุกครั้งด้วยสบู่

  10. ภาชนะอุปกรณ์ กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ควรล้างทำความสะอาด ด้วยน้ำยาล้างจาน และน้ำสะอาดอีก ๒ ครั้ง และฆ่าเชื้อให้มั่นใจว่าปลอดภัยด้วยน้ำยาคลอรีนอย่างน้อย ๒ นาที แล้วนำไปผึ่งแดดให้แห้งสนิท จึงนำ กลับมาใช้ได้ หากอุปกรณ์ได้รับความเสียหายมาก เช่น มีสนิม ควรกำจัดทิ้ง

  11. แมลงและสัตว์นำโรค กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร แมลงและสัตว์นำโรคระบบทางเดินอาหารที่สำคัญ แมลงวัน แมลงสาบ หนู มด ฯลฯ เช่น นก สุนัข

  12. การปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมการปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร กำจัดขยะมูลฝอย/เศษอาหาร เศษเหลือจากวัตถุดิบ ให้ถูกต้องในถังที่ไม่รั่วซึม มีฝาปิด ดูแลทางระบายน้ำไม่ให้อุดตัน กำจัดน้ำเสียให้ถูกวิธี เก็บอาหารในภาชนะที่ปกปิด ทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วมเป็นประจำทุกวัน

  13. สาแหตุของการเจ็บป่วยจากอาหารเป็นสื่อสาแหตุของการเจ็บป่วยจากอาหารเป็นสื่อ กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร อันตรายที่พบได้ในอาหาร ด้านเคมี ด้านกายภาพ ด้านชีวภาพ

  14. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร อันตรายด้านชีวภาพ แบคทีเรีย พยาธิ รา ไวรัส พิษจากพืชและสัตว์ โรคที่เกิดจากอาหารและน้ำเป็นสื่อ

  15. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร อาหารปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ ปนเปื้อนมากับวัตถุดิบ ภาชนะอุปกรณ์ที่ใช้ ไม่สะอาด การควบคุมการผลิตที่ไม่ดีพอ ผู้สัมผัสอาหารมีสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี

  16. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร อันตรายด้านเคมี 1.สารเคมีที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น สารพิษจากเชื้อรา สารพิษจากพืช และสัตว์ 2.สารเคมีที่เติมลงในอาหารโดยเจตนา เช่น บอแรกซ์ ฟอร์มาลีน สารกันรา 3.สารเคมีที่เติมลงในอาหารโดยมิได้เจตนา เช่น สารเคมีทำความสะอาด

  17. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร อันตรายด้านกายภาพ อันตรายที่เกิดจากการมีวัตถุแปลกปลอมปนอยู่ในอาหารและทำให้ผู้บริโภคได้รับบาดเจ็บหรือเกิดความระคายเคือง

  18. กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร สวัสดีค่ะ

More Related