1 / 34

ดร. เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th

การ วิเคราะห์ผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวม ( TFP) ตามแผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรม. ดร. เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th. วัตถุประสงค์การศึกษา.

cassia
Download Presentation

ดร. เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์ผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวม (TFP) ตามแผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรม ดร. เณศรา สุขพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ nessara@econ.tu.ac.th

  2. วัตถุประสงค์การศึกษา • เพื่อวัดผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวม (TFP) และการเติบโตผลิตภาพปัจจัยการผลิตรวม (TFPG) ของภาคอุตสาหกรรมโดยใช้ข้อมูลในระดับหน่วยผลิตจาก รง. 9 ระหว่างปี 2546 – 2547 • เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ TFP • นำผลการศึกษาไปใช้ในการวิเคราะห์แผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรม

  3. ความสำคัญของปัญหา จากงานศึกษาในอดีตพบว่าแม้ประเทศไทยจะมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง แต่การเติบโตของเศรษฐกิจส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการขยายตัวของปัจจัยการผลิตมากกว่าการขยายตัวของผลิตภาพการผลิต

  4. วัตถุประสงค์หลักของแผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมวัตถุประสงค์หลักของแผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรม เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพ เพื่อแก้ไขปัญหา ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันให้กับภาคอุตสาหกรรมของไทยให้สามารถอยู่รอดและแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก เพื่อผลักดันให้ภาคเอกชนมีบทบาทในการพัฒนาด้วยตนเอง และให้ความสำคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ โดยร่วมมือกับภาครัฐในการร่วมคิดร่วมทำ (Collaboration)

  5. กรอบการวิเคราะห์ การวัดผลิตภาพการผลิต วัดจาก Total Factor Productivity (TFP) การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพการผลิต Total Factor Productivity Growth (TFPG) การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต

  6. ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา การศึกษาจะใช้ข้อมูลในระดับหน่วยผลิต จากแบบสำรวจโรงงานประจำปี (รง.9) ของสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ในช่วงปี 2546-2547 รายสาขาอุตสาหกรรมที่ระดับ ISIC 2 หลัก (ISIC15 – 37) ประกอบด้วยกลุ่มอุตสาหกรรม 23 กลุ่ม จะทำการศึกษาทั้งในภาพรวม และการศึกษารายอุตสาหกรรมในระดับ ISIC 2 หลัก

  7. Overview of main productivity measures

  8. 1. การวัดผลิตภาพการผลิต วัดจาก Total Factor Productivity (TFP) หรือ Capital-Labor Multifactor Productivity (K-L MFP) based on value addedoutput กำหนดให้ปัจจัยการผลิตประกอบด้วย K และ L การประมาณค่าดัชนีผลิตภาพการผลิตด้วยวิธี Parametric Approach กำหนดให้ฟังก์ชันการผลิตเป็นแบบ Cobb-Douglas และ Translog

  9. 1.1 การประมาณค่าดัชนีผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) โดยกำหนดฟังก์ชั่นการผลิตแบบ Cobb-Douglas ฟังก์ชั่นการผลิตในรูปแบบของ Cobb-Douglas โดยที่ Y = มูลค่าเพิ่มของผลผลิต K = มูลค่าทุน (Capital Stock) L = มูลค่าแรงงาน A = ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีซึ่งกำหนดให้เป็นค่าที่ไม่สามารถวัดได้ จากการเก็บข้อมูล α = ความยืดหยุ่นของการใช้ปัจจัยทุนต่อมูลค่าเพิ่ม β = ความยืดหยุ่นของการใช้ปัจจัยแรงงานต่อมูลค่าเพิ่ม i= หน่วยผลิต (i)

  10. 1.1 การประมาณค่าดัชนีผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) โดยกำหนดฟังก์ชั่นการผลิตแบบ Cobb-Douglas จาก จัดให้อยู่ในรูปnatural logarithm สมการที่ใช้ในการประมาณค่าคือ โดยที่ c = ค่าคงที่ (ตามข้อจำกัดทางเทคนิคของสมการถดถอย) εi= ตัวแปรสุ่มที่ไม่ทราบค่าที่มีผลต่อฟังก์ชั่นการผลิต รวมถึงระดับเทคโนโลยี ของแต่ละหน่วยผลิตที่ไม่ทราบค่าและปัจจัยที่ไม่สามารถสังเกตได้อื่นๆ นอกเหนือจากปัจจัยการผลิต L และ K

  11. 1.1 การประมาณค่าดัชนีผลิตภาพการผลิตโดยรวม (TFP) โดยกำหนดฟังก์ชั่นการผลิตแบบ Translog • ฟังก์ชั่นการผลิตในรูปแบบของ Translog • สมการที่ใช้ในการประมาณค่าคือ

  12. 2.การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวม(TFPG)2.การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพปัจจัยการผลิตโดยรวม(TFPG) • ใช้วิธี Growth Accounting Approach • สมมติฟังก์ชั่นการผลิตอยู่ในรูปสมการทั่วไป • เมื่อทำ total differentiate • จัดรูป SL = = ค่าความยืดหยุ่นของผลผลิตต่อแรงงาน SK = = ค่าความยืดหยุ่นของผลผลิตต่อปัจจัยทุน = การเปลี่ยนแปลงตามเวลา

  13. การวัดตัวแปร Y, K, และ L ตัวแปรมูลค่าเพิ่มของผลผลิต(Y): วัดจาก มูลค่าเพิ่ม (Y)= มูลค่าการจำหน่ายรวม - มูลค่าวัตถุดิบ – ค่าเชื้อเพลิงและพลังงาน – ต้นทุนค่าจ้าง ตัวแปรมูลค่าทุน (K): วัดจาก ทุน (K) = สินทรัพย์ถาวรสุทธิ x อัตราการใช้กำลังการผลิต โดยที่อัตราการใช้กำลังการผลิต = มูลค่าการผลิตจริงมูลค่ากำลังการผลิต มูลค่าการผลิตจริง = ปริมาณการผลิตจริง x ราคาสินค้า (บาทต่อหน่วย) มูลค่ากำลังการผลิต =กำลังการผลิตต่อปี x ราคาสินค้า (บาทต่อหน่วย) ตัวแปรมูลค่าแรงงาน (L): วัดจากจำนวนเงินค่าตอบแทนแรงงานทั้งหมด

  14. 3. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต • ขนาดของหน่วยผลิต • นวัตกรรมภายในหน่วยผลิต process innovation vs. product innovation embodied R&D (Industries of use) vs. own process R&D (Industry of origin) • ระดับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ • ระดับการส่งออก • ความเข้มข้นในการใช้ปัจจัยการผลิตของหน่วยผลิต • ลักษณะหรือคุณภาพของแรงงาน

  15. 3. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต

  16. 3. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต

  17. สมการปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิตสมการปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต

  18. ความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บท

  19. ผลการศึกษา การวัดผลิตภาพการผลิต วัดจาก Total Factor Productivity (TFP) การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพการผลิต Total Factor Productivity Growth (TFPG) การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต

  20. ) 1. การวัดผลิตภาพการผลิต Total Factor Productivity (TFP)

  21. ผลการประมาณค่าสมการการผลิตแบบ Cobb-Douglas และ แบบ Translog สำหรับปี 2546

  22. ค่าเฉลี่ย TFP รายอุตสาหกรรมสำหรับอุตสาหกรรมที่มีค่า TFP มากกว่าค่าเฉลี่ยรวม (100)

  23. สรุป (TFP) • จาก 23 อุตสาหกรรม (ISIC 15-37) มีเพียง 8 อุตสาหกรรมที่มีค่า TFP สูงกว่าค่าเฉลี่ย • อุตสาหกรรมที่มีค่า TFP สูงสุด คือ อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์ถ่านโค้ก ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันปิโตรเลียม และเชื้อเพลิงปรมาณู (ISIC 23)

  24. 2. การวัดอัตราการเติบโตผลิตภาพการผลิต Total Factor Productivity Growth (TFPG)

  25. ปัจจัยการผลิตที่สนับสนุนอัตราการเจริญเติบโตของมูลค่าเพิ่มของผลผลิตในปี 2546

  26. ค่าเฉลี่ย TFPG รายอุตสาหกรรม ในปี 2546 กรณีค่า TFPG> 0

  27. สรุป (TFPG) • ค่า TFPG ปี 2546 ติดลบ = -0.630 ส่งผลให้อัตราการเติบโตของมูลค่าเพิ่มของผลผลิตไม่มากดังที่ควรจะเป็น แม้ว่าจะมีการเติบโตของปัจจัยการผลิตทั้งปัจจัยทุนและปัจจัยแรงงานก็ตาม • อุตสาหกรรมที่มีการเติบโตมากที่สุดในปี 2546 คือ อุตสาหกรรมการผลิตกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ (ISIC 21)

  28. 3. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต

  29. ผลจาก OLS regression ในการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต

  30. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิตการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต

  31. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิตการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิต

  32. สรุป • หน่วยผลิตที่มีขนาดใหญ่จะมีผลิตภาพการผลิตต่ำกว่าหน่วยผลิตขนาดเล็ก • หน่วยผลิตที่มี R&D, FDI, export, K/Lสูง มีแนวโน้มจะที่จะมี TFP สูง • การฝึกอบรมแรงงานวิชาชีพฝ่ายผลิต (train1) และ แรงงานฝ่ายผลิตที่มีฝีมือ(train2) ไม่มีผลต่อการเพิ่มผลิตภาพการผลิตอย่างมีนัยสำคัญ • การฝึกอบรมแรงงานฝ่ายผลิตทีไร้ฝีมือ (train3) และ การฝึกอบรมแรงงานอื่นๆ ซึ่งอาจรวมถึง ผู้ปฏิบัติงานด้านบริหาร งานขาย และงานบริการ เป็นต้น (train4) มีผลทำให้ผลิตภาพการผลิตสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ

  33. ความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทความสัมพันธ์กับยุทธศาสตร์ของแผนแม่บท

  34. THANK YOU

More Related