1 / 37

โดย นายฉัตรชัย เลื่อมประเสริฐ นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

บทบาทของกลุ่มจังหวัดในการแข่งขันด้านการตลาดและ การลงทุนกับกลุ่มประเทศอาเซียน. โดย นายฉัตรชัย เลื่อมประเสริฐ นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. ณ โรงแรมแกรนด์อิลล์ รีสอร์ทแอนด์ สปา นครสวรรค์ วันที่ 22 กันยายน 2554. หัวข้อ. ไทยกับอาเซียน

casta
Download Presentation

โดย นายฉัตรชัย เลื่อมประเสริฐ นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของกลุ่มจังหวัดในการแข่งขันด้านการตลาดและ การลงทุนกับกลุ่มประเทศอาเซียน โดย นายฉัตรชัย เลื่อมประเสริฐ นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ณ โรงแรมแกรนด์อิลล์ รีสอร์ทแอนด์ สปา นครสวรรค์ วันที่ 22 กันยายน 2554

  2. หัวข้อ • ไทยกับอาเซียน • วิวัฒนาการการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน • แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) • ประโยชน์และผลกระทบจาก AEC • มาตรการรองรับผลกระทบจาก AEC

  3. ไทยกับอาเซียน ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2553 ปี 2535 ASEAN 22.7% • ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)

  4. ไทยกับอาเซียน แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2535 ปี 2553 ASEAN 16.6% • นำเข้ารวม 182,406.54 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)

  5. ศักยภาพของไทยในอาเซียนศักยภาพของไทยในอาเซียน ที่มา : ASEAN Secretariat , สถิติปี 2009

  6. ศักยภาพของไทยในอาเซียนศักยภาพของไทยในอาเซียน ที่มา : ASEAN Secretariat , สถิติปี 2009

  7. วิวัฒนาการการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน การทำความตกลงเปิดเสรี สินค้า เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ความตกลง ATIGA เริ่มลดภาษีปี 2536จนเป็น 0% ในปี 2553 (6) และปี 2558 (4) บริการ กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS) เริ่มเปิดเสรีปี 2538 เป็นลำดับจนถึงปี 2558 ลงทุน เขตการลงทุนอาเซียน (AIA) กรอบความตกลง ACIA เริ่มปี 2541เปิดเสรี คุ้มครอง และส่งเสริมการลงทุน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ รองรับการเปิดเสรี ความ ร่วมมือ เกษตร ป่าไม้ ความมั่นคงทางอาหาร อุตสาหกรรม ทรัพย์สินทาง- ปัญญา โครงสร้างพื้นฐาน e-ASEAN การคุ้มครองผู้บริโภค นโยบายการแข่งขัน ฯลฯ

  8. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) 2015 (2558) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

  9. AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ทำ FTAs กับประเทศนอกอาเซียน ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs

  10. แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC Blueprint

  11. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรีเคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า 1.1 ยกเลิกมาตรการภาษี • ลดภาษีนำเข้าเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536 อาเซียน-6 ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ CLMV ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ ยกเว้น สินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5% 1 มค. 2553(2010) 1 มค. 2558(2015) และสินค้าในรายการอ่อนไหวสูง(Highly Sensitive List) ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้าอ่อนไหวสูง : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์

  12. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรีเคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC สินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5% ASEAN – 6 ภายใน 1มค 2553 CLMV ภายใน 1 มค 2558

  13. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC สินค้าในรายการอ่อนไหวสูงHighly Sensitive List ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้า : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทยได้ชดเชย เป็นการนำเข้าขั้นต่ำ ปีละประมาณ 5.5 แสนตัน ไทยได้ชดเชย โดยฟิลิปปินส์ตกลงจะซื้อข้าวจากไทย อย่างต่ำปีละ 3.67 แสนตัน

  14. มีไทยและมาเลเซียต้องยกเลิกในชุดที่ 1และ 2 ไทยและเวียดนามยกเลิกในชุดที่ 3 เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint 1.2 ขจัดการกีดกันที่มิใช่ภาษี NTBs NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 อาเซียน5 ภายใน1มค.2553(2010) ยกเลิกภายใน1มค.2551(2008) ยกเลิกภายใน1มค.2552(2009) ฟิลิปปินส์ ภายใน1มค.2555(2012) CLMV ภายใน1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers

  15. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรีเคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 1.3 การอำนวยความสะดวกทางการค้า บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย สิงคโปร์ จะเริ่มดำเนินโครงการในต้นปี 2554 ASEAN Single Window (ASW) กัมพูชา ลาว พม่า จะเข้าร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์ (Observer) บรูไน มาเลเซีย และสิงคโปร์ ได้เริ่มดำเนินโครงการนำร่องเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 Self Certification ไทยอยู่ระหว่างการดำเนินการเพื่อเข้าร่วมโครงการนำร่อง หลังจากที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2554

  16. เคลื่อนย้ายบริการเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2558 (2015) 70% 70% 70% 2. เปิดเสรีบริการ อนุญาตให้ผุ้ประกอบกิจการบริการของอาเซียน ไปทำธุรกิจโดยถือหุ้นได้อย่างน้อยถึง 70% โดยมีลำดับดำเนินการ คือ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)/ สุขภาพ / ท่องเที่ยว / การขนส่งทางอากาศ โลจิสติกส์ 51% สาขาอื่นๆ ที่เหลือทั้งหมด 51%

  17. “ภาคบริการ” VS“การลงทุน” ในความตกลงการค้าเสรี: ธุรกิจอะไรคือ “ภาคบริการ” อะไรคือ “การลงทุน” ? ภาคบริการ1.บริการด้านธุรกิจ/วิชาชีพ (แพทย์ วิศวกร ทนายความ นักบัญชี ฯลฯ)2. บริการด้านสื่อสาร/โทรคมนาคม3. บริการด้านการก่อสร้าง 4. บริการด้านการจัดจำหน่าย5. บริการด้านการศึกษา6. บริการด้านสิ่งแวดล้อม7. บริการด้านการเงิน8. บริการด้านสุขภาพ 9. บริการด้านการท่องเที่ยว 10. บริการด้านนันทนาการ 11. บริการด้านการขนส่ง12. บริการอื่นๆ 17 ภาคที่ไม่ใช่บริการ=ลงทุน1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม)+ ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขา

  18. เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ACIA: ASEAN Comprehensive Investment Agreement การลงทุน1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม) 3. เปิดเสรีการลงทุน • ต้องปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง • ทบทวนความตกลงAIA ให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ • (เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริมอำนวยความสะดวก) • เปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อำนวยความสะดวกการลงทุน

  19. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แผนงานใน AEC Blueprint 4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก • ยอมรับร่วมกันเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขการได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ • นักวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆในการอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขานั้นๆ • ปัจจุบัน ตกลงกันได้แล้ว 7 สาขา สาขาวิศวกรรม สาขาพยาบาล สาขานักสำรวจ สาขาแพทย์ สาขานักบัญชี สาขาทันตแพทย์ สาขาสถาปัตยกรรม

  20. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้นเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้น แผนงานใน AEC Blueprint 5. การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้น • เปิดเสรีบัญชีทุน (Capital Account) อย่างเป็นขั้นตอนและสอดคล้องกับวาระแห่งชาติ-ความพร้อมของแต่ละประเทศ หลักการ • อนุญาตให้มีมาตรการปกป้องที่เพียงพอ หรือที่จำเป็นเพื่อรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาค • ให้ทุกประเทศสมาชิกได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงจากการเปิดเสรี • ยกเลิก ผ่อนคลายข้อจำกัด “ตามความเป็นไปได้และเหมาะสม” • เพื่ออำนวยความสะดวกการจ่ายชำระเงินและโอนเงิน สำหรับธุรกรรมบัญชีเดินสะพัด หรือ Current Account Transactions • เพื่อสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หรือ มาตรการริเริมต่างๆ ในการส่งเสริมพัฒนาตลาดทุน เปิดเสรี โดย

  21. แผนงานใน AEC Blueprint 6. ความร่วมมืออื่นๆ ยกระดับการค้าและความสามารถในการแข่งขันสินค้าอาหาร เกษตร และป่าไม้ อาหาร เกษตร และป่าไม้ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างสรรค์ และใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง นโยบายการแข่งขัน ส่งเสริมวัฒนธรรมการแข่งขันที่เป็นธรรมในภูมิภาคและสร้างเครือข่ายหน่วยงานกำกับดูแลด้านนโยบายการแข่งขัน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาโครงข่ายการขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศและพลังงานที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนา SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัวของ SME ในอาเซียน

  22. India ACFTA AIFTA China AEC AJCEP AANZFTA Japan AKFTA Australia New Zealand Korea 5 FTAs ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา -- ปัจจุบัน สินค้า : ลงนาม 29 พ.ย. 47 มีผล 1 ม.ค. 48 บริการ : ลงนาม 14 ม.ค. 50 มีผล 1 ก.ค. 50 ลงทุน :ลงนาม 15 สค 52 มีผล เม.ย. 53 สินค้า: ลงนาม 13 สค. 52 มีผล 1 มค. 53 บริการ/ลงทุน :กำลังเจรจา สินค้า/บริการ/ลงทุน: ไทยลงนาม 11 เม.ย.51 สำหรับไทย มีผล2 มิย 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 ก.พ. 52 มีผล 1 มค. 53 (ไทยให้สัตยาบัน 12 มี.ค. 53) สินค้า :อาเซียนอื่นลงนาม 28 ส.ค. 49 บริการ: อาเซียนอื่นลงนาม 21 พ.ย. 50 (ไทย :บริการ ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 มิ.ย. 52 สินค้า ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 ตค 52 ลงทุน:ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิย.52 มีผล 31 ตค 52

  23. CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6) EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) Australia New Zealand China Japan AEC Korea India การขยาย FTAs ของอาเซียน – อนาคต… ASEAN10 : 590 ล้านคน( 9% ของประชากรโลก ) GDP 1,499 พันล้าน US$( 2% ของ GDP โลก) EAFTA (ASEAN +3): ประชากร 2,068 ล้านคน( 31% ของประชากรโลก ) GDP 9,901 พันล้าน US$ (18% ของ GDP โลก) CEPEA(ASEAN +6) :ประชากร 3,284 ล้านคน (50% ของประชากรโลก ) GDP 12,250 พันล้าน US$ (22% ของ GDP โลก)

  24. ประโยชน์ / ผลกระทบจาก AEC

  25. ผลกระทบด้านการค้า • ผลกระทบด้านบวก ขยายการส่งออกในภูมิภาค • สินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ธัญพืช น้ำตาลทราย ผลไม้สดอาหารสำเร็จรูป (อาหารกระป๋อง)เครื่องปรุงรส • สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์รถยนต์และชิ้นส่วน • ผลกระทบด้านลบ การแข่งขันที่เพิ่มขึ้น • สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ำมันปาล์ม (มาเลเซีย) เมล็ดกาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) และชา (อินโดนีเซีย)

  26. โอกาสทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจโอกาสทางการค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  27. ผลกระทบทางค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจผลกระทบทางค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  28. ผลกระทบด้านบริการ • ผลกระทบด้านบวก ทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี,แก้ไขปัญหาขาดแคลน แรงงานฝีมือ • การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว อาทิ ร้านอาหาร และโรงแรม • บริการด้านสุขภาพ เช่น โรงพยาบาล บริการสปา นวดแผนไทย • ผลกระทบด้านลบ คู่แข่งในอาเซียนจะเข้ามาให้บริการในไทยเพิ่มขึ้น • สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุนและเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและเล็ก

  29. ผลกระทบด้านการลงทุน ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น ผลกระทบด้านบวก อาจถูกแย่งการลงทุนจากต่างชาติไป ประเทศที่น่าสนใจ ผลกระทบด้านลบ

  30. มาตรการรองรับผลกระทบจาก AEC

  31. มาตรการรองรับผลกระทบจาก AEC กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) กองทุนให้ความช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (กระทรวงพาณิชย์) (กองทุน FTA) มาตรการปกป้องจากการนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้นมาก (Safeguard Measure) มาตรการบริหารการนำเข้าสินค้าเกษตร

  32. โครงการช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (กองทุน FTA) • เรื่มก่อตั้งในปี 2550 มีโครงการที่ให้ความช่วยเหลือทั้งหมด 25 โครงการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องการบริการ มีโครงการที่ให้ความช่วยเหลือไปแล้ว 3 โครงการ คือ โลจิสติกส์ท่องเที่ยว และร้านอาหาร • สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวหัวหิน-ชะอำ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต วิทยาเขตหัวหิน ได้รับเงินช่วยเหลือจำนวน 4.7 ล้านบาท เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวในจังหวัดประจวบคีรีขันธุ์ • ลักษณะโครงการจะเป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติ ที่มีงานวิจัยและการฝึกอบรมทางด้านการท่องเที่ยว เป็นการศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ภายในจังหวัด และมีการนำข้อมูลต่างๆ ที่มีการหารือกันในจังหวัด โดยให้ทุกภาคธุรกิจมีส่วนร่วมที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทั้งหมด 8 สาขา ได้แก่ ที่พัก สุขภาพอนามัย อาหาร เครื่องดื่ม บริการบันเทิง ของที่ระลึก สารสนเทศ ธุรกิจการท่องเที่ยวอื่นๆ เช่น มัคคุเทศก์ในพื้นที่ ซึ่งขณะนี้อยู่ในขั้นตอน การดำเนินงาน

  33. การปรับตัวและเตรียมความพร้อม การค้าบริการ mode 1 (บริการข้ามพรมแดน) : เช่น การให้คำปรึกษาผ่านทางอินเตอร์เน็ต การแพทย์ทางไกล ผู้ให้บริการควรศึกษาลู่ทางและโอกาสทางการตลาดสำหรับการค้าบริการข้ามพรมแดน เนื่องจากจะมีโอกาสในการเติบโตอีกมาก การค้าบริการ mode 2 (การเดินทางไปรับบริการในต่างประเทศ) : การค้าบริการ mode 2 ปัจจุบันมีความเป็นเสรีอยู่แล้ว อย่างไรก็ดี การเปิดเสรีอาจส่งผลให้มีคนไข้ต่างชาติเข้ามารับบริการในประเทศไทยมากขึ้น เตรียมพร้อมด้านบุคลากรของไทย การค้าบริการ mode 3 (การลงทุน) : ภาคธุรกิจไทยสามารถขยายโอกาสไปให้บริการด้านสุขภาพในต่างประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่ม CLMV อย่างไรก็ดี ข้อจำกัดด้านจำนวนบุคลากรทางการแพทย์ เป็นปัจจัยท้าทายต่อการขยายตัวของธุรกิจไทยทั้งในประเทศและต่างประเทศ การค้าบริการ mode 4 (การทำงาน) : การประกอบวิชาชีพต้องเป็นไปตามกฎระเบียบภายในของแต่ละประเทศ เตรียมพร้อมด้านภาษา/วัฒนธรรมต่างประเทศ

  34. TiP & Tricks • ศึกษาข้อมูลพันธกรณีในกรอบต่างๆ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ • แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม www.thaifta.com / www.asean.orgwww.dtn.go.th • ติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด (รู้รอบ รู้ทัน) • ปรับเปลี่ยนทัศนคติจากเชิงรับ เป็น เชิงรุก (ใช้โอกาสที่เปิดกว้างมากขึ้น) • รู้เขา รู้เรา (สร้างความแตกต่างให้กับสินค้า/บริการจากจุดแข็งที่เรามีอยู่) • เข้าใจประเด็นด้านเทคนิค (แหล่งกำเนิดสินค้า การคำนวณต้นทุน การ sourcing ฯลฯ) • มาตรการทางการค้าทั้งภาษีและที่ไม่ใช่ภาษี (NTBs) จะลดบทบาทลงไป • ธุรกิจจะแข่งขันกันที่ความคิดสร้างสรรค์ คุณภาพ/มาตรฐาน และการให้บริการที่จะผูกมัดใจลูกค้าของเรา

  35. บทบาทกระทรวงพาณิชย์ กรมส่งเสริมการส่งออก: ลู่ทางการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ: การใช้สิทธิประโยชน์ และมาตรการรองรับผลกระทบ กรมการค้าต่างประเทศ: การใช้สิทธิประโยชน์และมาตรการรองรับผลกระทบ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า: การพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ: ความรู้เกี่ยวกับข้อตกลง และพันธกรณีของไทย กระทรวงพาณิชย์พร้อมให้การสนับสนุนและอำนวยความสะดวก โดยการทำงานร่วมกัน

  36. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม www.depthai.go.th สายด่วน Call center : 1169, 0-2507-8424 www.dft.go.th สายด่วน Call Center: 1385, 0-2547-4855 www.dbd.go.th สายด่วน Call Center : 1570, 0-2528-7600 www.dtn.go.thwww.thaifta.com โทร : O-2507-7555, 0-2507-7444

  37. ขอบคุณ One Vision One Identity One Community

More Related