1 / 38

ประเด็นการประชุม

ประเด็นการประชุม. กรอบแนวทางแผนพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค การกำกับ ติดตาม และประเมินผล ปีงบประมาณ 2555 ภารกิจที่ต้องดำเนินการ Service บุคลากร ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง ระบบข้อมูล. กรอบแนวทาง แผนพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ในส่วนภูมิภาค. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service Plan ).

cecily
Download Presentation

ประเด็นการประชุม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประเด็นการประชุม • กรอบแนวทางแผนพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค • การกำกับ ติดตาม และประเมินผลปีงบประมาณ 2555 • ภารกิจที่ต้องดำเนินการ • Service • บุคลากร • ครุภัณฑ์ • สิ่งก่อสร้าง • ระบบข้อมูล

  2. กรอบแนวทาง แผนพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ในส่วนภูมิภาค

  3. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) • แผนการพัฒนาระบบบริการทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ระดับทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิ ซึ่งรวมถึงการพัฒนาความเชี่ยวชาญระดับสูง สร้างระบบที่เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายทั้งภายในจังหวัด ภายในเขต และเป็นเครือข่ายระดับประเทศมีระยะเวลาอย่างน้อย ๕ ปี • ดำเนินการจัดทำแผนการสนับสนุนทรัพยากรให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ มีการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนตามบทบาทหน้าที่ของบริการแต่ละระดับ และส่งเสริมสนับสนุนให้ดำเนินการพัฒนาตามแผนพัฒนาคุณภาพบริการตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพบริการ

  4. ปัญหาระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย • ประสิทธิภาพ คุณภาพบริการ ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการ • ความแออัดของผู้รับบริการในสถาน บริการระดับสูง • การใช้ทรัพยากรที่ไม่เหมาะสม ไม่สอดคล้องกับบทบาทของสถานพยาบาลในการให้บริการ • การแข่งขันขยายบริการและเกิดการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดโดยขาดการวางแผนการจัดระบบบริการที่ดี • ความไม่เป็นธรรมในการพัฒนา

  5. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนา และออกแบบระบบบริการ ให้มีขีดความสามารถที่จะรองรับความท้าทายในอนาคต 2. เพื่อจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการเป็นเครือข่าย ให้สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว 3. ริเริ่มการขยายสถานบริการที่จำเป็น ปรับปรุง/เสริมสร้างศักยภาพของสถานบริการ ให้เป็นไปตามแผน

  6. กรอบแนวคิด 1. Seamless Health Service Networks ความจำเป็นของการจัดบริการในรูปเครือข่ายแทนการขยาย รพ., ที่เชื่อมโยงทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ 2. Provincial Health Service Network เครือข่ายบริการระดับจังหวัด เป็นเครือข่ายบริการที่รองรับการส่งต่อ ตามมาตรฐานระดับจังหวัด อย่างสมบูรณ์ 3. Referral Management ส่งต่อผู้ป่วย 3 ระดับ (ต้น กลาง สูง)

  7. เครือข่ายบริการระดับจังหวัดเครือข่ายบริการระดับจังหวัด Level Referral Advance รพศ. รพ.อุดธานี High level Standard รพท. รพท.ขนาดเล็ก M1 รพ.กุมภวาปี Mid level รพช.ขนาดใหญ่ M2 รพ.บ้านผือ,รพ.หนองหาน • F1-> รพร.บ้านดุง,รพ.เพ็ญ-F2->รพ.น้ำโสม,รพ.โนนสะอาด, รพ.หนองวัวซอ,รพ.กุดจับ,รพ.วังสามหมอ, รพ.ศรีธาตุ, รพ.ไชยวาน,รพ.ทุ่งฝน, รพ.สร้างคอม,รพ.พิบูรย์ลักษ,รพ.นายูง-F3->รพ.ห้วยเกิ้ง,รพ.กู่แก้ว,รพ.ประจักษ์ศิลปาคม First level เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-2

  8. โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก (ระดับ F3) • ขนาดเตียง 10 เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป หรือแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว ไม่จำเป็นต้องทำหัตถการ เช่น การผ่าตัดใหญ่ และไม่จำเป็นต้องจัดบริการผู้ป่วยในเต็มรูปแบบ

  9. โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง(ระดับ F2) • ขนาดเตียง 30-90 เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และจัดบริการตามมาตรฐานของบริการทุติยภูมิโดยไม่มีแพทย์เฉพาะทาง

  10. โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (ระดับ F1) • รพช. ขนาดเตียง 60-120 เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และแพทย์เฉพาะทางสาขาหลัก (อายุรกรรม ศัลยกรรม สูตินารีเวชกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยกรรมกระดูก และวิสัญญีแพทย์) เป็นบางสาขาเท่าที่มีอยู่ปัจจุบัน

  11. โรงพยาบาลชุมชนเพื่อรับส่งต่อผู้ป่วย(ระดับ M2) • หมายถึง รพช. ขนาดเตียง 120 เตียงขึ้นไป ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว และแพทย์เฉพาะทางครบทั้ง 6 สาขาหลัก

  12. โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก (ระดับ M1) • เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญ ประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาหลักทุกสาขา และสาขารองในบางสาขาที่จำเป็น กำหนดให้เป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยระดับกลาง (ระดับ M1)

  13. โรงพยาบาลศูนย์ (ระดับ A) • เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญและเทคโนโลยีขั้นสูงและมีราคาแพง (Advance & sophisticate technology) มีภารกิจด้านแพทยศาสตร์ศึกษาและงานวิจัยทางการแพทย์ จึงประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทั้งสาขาหลัก สาขารอง และสาขาย่อยครบทุกสาขาตามความจำเป็น กำหนดให้เป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยระดับสูง (ระดับ A)

  14. เครือข่ายระบบส่งต่อของสถานบริการจังหวัดอุดรธานีเครือข่ายระบบส่งต่อของสถานบริการจังหวัดอุดรธานี อ.นายูง F2 N อ.สร้างคอม F2 F2 อ.น้ำโสม M2 F1 F1 อ.บ้านดุง อ.เพ็ญ อ.บ้านผือ F2 อ.ทุ่งฝน อ.พิบูลย์รักษ์ F2 F2 อ.กุดจับ A อ.หนองหาน อ.เมืองอุดรธานี M2 อ.หนองวัวซอ F2 อ.ประจักษ์ศิลปาคม F3 อ.ไชยวาน F3 F2 อ.หนองแสง อ.กู่แก้ว อ.กุมภวาปี F2 อ.วังสามหมอ M1 F3 อ.ศรีธาตุ F2 อ.โนนสะอาด F2 F2

  15. ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 5 ปี 3 Key Strategic Areas (KSAs) KSA 1 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา 3 ระดับ KSA 2 KSA 3 การพัฒนา รพ.ระดับต่างๆ โดยเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย ให้เติบโตอย่างมีทิศทาง ภารกิจชัดเจน จังหวะก้าว เกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน

  16. ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การจัดตั้งศูนย์การแพทย์ชุมชนเมือง (ศพม.) ร้อยละ 100 จัดตั้ง ศพม. ดูแลประชากรเขตเมือง ไม่เกินแห่งละ 30,000 บาท ภารกิจดูแลสุขภาพ Holistic, Integrative, Comprehensive รูปแบบหลากหลาย ท้องถิ่น/เอกชนมีส่วนร่วม

  17. ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA2 การจัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญ ร้อยละ 50 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 9 18 86 ทารกแรกเกิด มะเร็ง 9 13 91 อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน 12 11 90 หัวใจ / หลอดเลือด 10 11 92

  18. ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA3 การยกระดับ รพ. /สถานบริการ 1 แห่ง ระดับ รพ. A แห่ง ระดับ รพ. S แห่ง ระดับ รพ. M1 ระดับ รพ. M2 แห่ง ระดับ รพ. F1 แห่ง ระดับ รพ. F2 แห่ง ระดับ รพ. F3 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง แห่ง รพ.สต. แห่ง

  19. เครือข่ายบริการ 12 เครือข่าย

  20. ข้อเสนอรูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพข้อเสนอรูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ

  21. ข้อเสนอองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายข้อเสนอองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่าย ผู้ตรวจราชการกระทรวง อาวุโส ประธาน ผู้ตรวจราชการกระทรวง/สธน./ผช.ผู้ตรวจฯ รองประธาน นพ.สสจ. กรรมการ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป กรรมการ ผู้แทนผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน กรรมการ ผู้แทนหน่วยบริการภาครัฐนอกสังกัด สธ. ทุกระดับ กรรมการ ผู้แทนหน่วยบริการภาคเอกชน ทุกระดับ กรรมการ

  22. ข้อเสนอองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายข้อเสนอองค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่าย ผู้แทน สปสช. เขตพื้นที่ กรรมการ ผู้แทนงานการเงิน กรรมการ ผู้แทนงานประกันสุขภาพ กรรมการ ผู้แทนงานการเจ้าหน้าที่ กรรมการ ผู้แทนงานยุทธศาสตร์ กรรมการ ผู้แทน สสอ. กรรมการ ผู้แทน ผอ.รพ.สต. กรรมการ นพ. สสจ. ที่ตั้งสำนักงานเลขาฯ กรรมการและเลขา

  23. หน้าที่คณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับเครือข่ายหน้าที่คณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับเครือข่าย ดูแลระบบบริการ จัดสรรทรัพยากร บริหารจัดการด้านการเงินการคลัง พัฒนาระบบการส่งต่อภายในเครือข่าย ติดตาม ควบคุม กำกับ การดำเนินงานและแก้ไขปัญหา สนับสนุนการดำเนินงานของหน่ายบริการให้บรรลุวัตถุประสงค์

  24. หน้าที่สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพหน้าที่สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ สร้างฐานข้อมูลทรัพยากรของเครือข่ายให้เป็นปัจจุบัน และนำไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง วิเคราะห์ข้อมูล จัดลำดับความสำคัญ โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ

  25. หน้าที่สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพหน้าที่สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ • จัดทำแผนพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) • แผนพัฒนาโครงสร้างระบบบริการ • แผนสนับสนุนทรัพยากร • แผนพัฒนาคุณภาพบริการ • แผนพัฒนาระบบส่งต่อ • จัดทำสรุปผลการดำเนินงานประจำปี เสนอต่อผู้บริหาร

  26. การกำกับ ติดตาม และประเมินผลปีงบประมาณ 2555

  27. ภารกิจที่ 2 การตรวจติดตามผล การปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ & ระบบหลักประกันสุขภาพ ประเด็น หลักที่ 2 3 หัวข้อ 1.การพัฒนาระบบบริการ (Service plan) 2.การพัฒนาระบบส่งต่อ(Referral system) 3.ประสิทธิภาพการบริการระดับจังหวัด 4 ด้าน

  28. หัวข้อที่ 1 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประเด็นที่ 1 : การจัดการทรัพยากร ประเด็นที่ 2 : การพัฒนาจัดการระบบเครือข่าย ประเด็นที่ 3 : คุณภาพบริการ ประเด็นที่ 4 : ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน

  29. ประเด็นที่ 1 :การจัดการทรัพยากร

  30. ประเด็นที่ 2 :การพัฒนาจัดการระบบเครือข่าย

  31. ประเด็นที่ 3 :คุณภาพบริการ

  32. ประเด็นที่ 4 :ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน

  33. ภารกิจที่ต้องดำเนินการภารกิจที่ต้องดำเนินการ

  34. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1. การพัฒนาศักยภาพบริการ 1) แต่ละ รพ. จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพบริการ 2) จังหวัดมีแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับจังหวัด 2. การจัดการเครือข่ายบริการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการ 4. การประเมินผลสัมฤทธ์การดำเนินงาน

  35. แผนพัฒนาศักยภาพบริการ รพ. เป็นแผนระยะ 5 ปี (2554-2559) เป้าประสงค์ : พัฒนาขีดความสามารถขั้นสูงในระดับนั้น เป้าหมายเชิงผลลัพท์ : เพิ่มขีดความสามารถ, ขยายบริการ ที่ยังเป็นส่วนขาด และจัดทำแผนลงทุนเป็น Package จัดลำดับความสำคัญของแต่ละเป้าหมาย ปรับปรุง/ทดแทน เพื่อคงศักยภาพบริการเดิม ใช้แผนเป็นตัวขับเคลื่อน กำกับติดตาม

  36. องค์ประกอบของแผนพัฒนาศักยภาพบริการองค์ประกอบของแผนพัฒนาศักยภาพบริการ 1. ข้อมูลพื้นฐาน 2. การวิเคราะห์ศักยภาพ / ส่วนขาด, กำหนดเป้าหมาย 1) ศักยภาพบริการในภาพรวม 2) ศักยภาพบริการของศูนย์เชี่ยวชาญ 4 สาขา 3) ศักยภาพบริการศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง 4) การปรับปรุง/ทดแทน เพื่อคงศักยภาพ 3. การจัดลำดับความสำคัญของบริการ 5 ปี 4. การจัดลำดับความสำคัญของงบลงทุน 5. สรุปภาพรวม

  37. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัด 1. ข้อมูลพื้นฐาน 2. เป้าหมายพัฒนาศักยภาพ (ปฐม ทุติย ตติย) 3. แผนพัฒนาระบบส่งต่อระดับจังหวัด 4. ลำดับความสำคัญของงบลงทุน (ปฐม ทุติย ตติย) 5. ลำดับความสำคัญของความต้องการบุคลากร 6. การติดตาม กำกับ ประเมินผล

  38. Hi-light พัฒนาระบบส่งต่อปี 2555 1. มุ่งเน้นการดำเนินงานของ ศสต.จังหวัด/เขต รองรับการส่งต่อที่ร้องขอ จาก รพ. ต้นทาง ลดการปฏิเสธการส่งต่อ โดยเฉพาะการส่งต่อข้ามเขต 2. จัดตั้ง/หารือเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ สาขาที่มีการส่งต่อสูง และเป็นปัญหาของจังหวัด 3. บริหารจัดการระบบข้อมูลการส่งต่อ เพื่อติดตามความก้าวหน้า

More Related