1 / 36

บทที่ 2 จำนวนจริง (The Real Numbers)

บทที่ 2 จำนวนจริง (The Real Numbers). 2.2 สมบัติความบริบูรณ์ของเซตของจำนวนจริง (The Completeness Property of ). บทนิยาม 2.2.1 ให้ A 

channer
Download Presentation

บทที่ 2 จำนวนจริง (The Real Numbers)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2จำนวนจริง (The Real Numbers)

  2. 2.2 สมบัติความบริบูรณ์ของเซตของจำนวนจริง • (The Completeness Property of ) บทนิยาม 2.2.1ให้ A  1. สำหรับ u และ a  uทุกๆ a  Aจะเรียก u ว่าเป็น ขอบเขตบน (upper bound)ของเซต A และเรียก A ว่า เซตที่มีขอบเขตบน (bounded above) 2. สำหรับ l และ a  l ทุกๆ a  Aจะเรียก l ว่าเป็น ขอบเขตล่าง (lower bound)ของเซต A และเรียก A ว่า เซตที่มีขอบเขตล่าง (bounded below) 3. จะเรียกเซต A ว่า เซตที่มีขอบเขต (bounded)ถ้า A เป็นเซตที่มีทั้งขอบเขตบน และขอบเขตล่าง

  3. ตัวอย่าง 1กำหนด A = { 1, , , ... } ให้ a  Aเห็นชัดว่า a  1 ,  a  A A เป็นเซตที่มีขอบเขตบนโดยมีจำนวนจริงที่มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1 เป็นขอบเขตบนของเซต A และ a 0 ,  a  A A เป็นเซตที่มีขอบเขตล่างโดยมีจำนวนจริงที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0 เป็นขอบเขตล่างของเซต A ดังนั้น A เป็นเซตที่มีขอบเขต 

  4. บทนิยาม 2.2.2 A เป็นเซตย่อยของ 1. ถ้า A เป็นเซตที่มีขอบเขตบนจะเรียก v ว่าเป็น ขอบเขตบนน้อยสุด (leastupper bound or supremum)ของ A เมื่อ (i) v เป็นขอบเขตบนของ A (ii) ถ้า u เป็นขอบเขตบนของ A แล้ว v  u ถ้า v เป็นขอบเขตบนที่น้อยที่สุดของ A เขียนแทนด้วย l.u.b. A = v หรือ sup A = v

  5. ถ้า A เป็นเซตที่มีขอบเขตล่างจะเรียก w ว่าเป็น ขอบเขตล่างมากสุด • (greatest lower bound or infimum)ของ A เมื่อ • (i) w เป็นขอบเขตล่างของ A • (ii) ถ้า l เป็นขอบเขตล่างของ A แล้ว w  l • ถ้า w เป็นขอบเขตล่างที่มากที่สุดของ A เขียนแทนด้วย • g.l.b. A = w หรือ inf A = w

  6. ตัวอย่าง 3ให้ A = { x  | 0  x  1 } สำหรับ x  Aแล้ว x  1, 1 เป็นขอบเขตบนของ A และถ้า r เป็นขอบเขตบนของ A จะได้ว่า 1  rดังนั้น l.u.b. A = 1 สำหรับ x  Aแล้ว x  0, 0 เป็นขอบเขตล่างของ A และถ้า w เป็นขอบเขตล่างของ A จะได้ว่า w  0ดังนั้น g.l.b. A = 0  ตัวอย่าง 4กำหนด A = [ -2, 10 ] A เป็นเซตที่มีขอบเขตและ l.u.b. A = 10, g.l.b. A = -2 

  7. ตัวอย่าง 5กำหนด A = {  n = 1, 2, 3, … } จะได้ A = { , , ,...} A เป็นเซตที่มีขอบเขตและ l.u.b. A = 1, g.l.b. A =  หมายเหตุ 1. ขอบเขตบนน้อยสุดไม่จำเป็นจะต้องเป็นสมาชิกของเซตนั้น 2. ขอบเขตล่างมากสุดไม่จำเป็นจะต้องเป็นสมาชิกของเซตนั้น

  8. บทตั้ง 2.2.3ให้ S โดยที่ S ถ้า u เป็นขอบเขตบนของ S, u เป็นขอบเขตบนน้อยสุดของ S ก็ต่อเมื่อ สำหรับจำนวนจริง  > 0 จะมี s Sซึ่งu –  < s การพิสูจน์ ให้ u เป็นขอบเขตบนของ S ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขที่ว่า สำหรับจำนวนจริง > 0จะมี s S ซึ่ง u –  < s จะแสดงว่า u เป็นขอบเขตบนน้อยสุดของ S ให้ v เป็นขอบเขตบนของ S ซึ่ง v  u สมมติ v < u ดังนั้น u – v > 0 เลือก = u – v

  9. จะมี s Sซึ่ง v = u –  < sซึ่งเป็นไปไม่ได้ เพราะขัดแย้งกับที่ v เป็นขอบเขตบนของ S ดังนั้น u < v นั่นคือ u เป็นขอบเขตบนน้อยสุด ในทางกลับกันให้จำนวนจริง  > 0และ u = l.u.b. S เนื่องจาก u –  < uแล้ว u – ไม่ใช่ขอบเขตบนของ S จึงมี s Sซึ่ง u –  < s 

  10. สมบัติขอบเขตบนน้อยสุดของ สัจพจน์การมีขอบเขตบนน้อยสุด (Least Upper Bound Axiom) กำหนดให้ A เป็นเซตย่อยที่ไม่เป็นเซตว่างของเซตจำนวนจริง และ A มีขอบเขตบนแล้ว A จะมีขอบเขตบนน้อยสุดใน

  11. ทฤษฎีบท 2.2.4ถ้า A เป็นเซตย่อยของ เซตจำนวนจริงที่มีขอบเขตล่างและ A ไม่เป็นเซตว่างแล้วเซต A จะมีขอบเขตล่างมากสุดใน การพิสูจน์ ให้ S = { s  | s เป็นขอบเขตล่างของ A } เนื่องจากเซต A มีขอบเขตล่างดังนั้น S  สำหรับ x  A, x  s s  Sดังนั้น x เป็นขอบเขตบนของ S S เป็นเซตมีขอบเขตบน

  12. ให้ a = l.u.b. S ดังนั้น a  xทุก x  Aจึงได้ว่า a เป็นขอบเขตล่างตัวหนึ่งของเซต A และ s  a, s  S นั่นคือ a เป็นขอบเขตล่างมากสุดของ A 

  13. ทฤษฎีบท 2.2.5 สมบัติอาร์คีมีเดียน (Archimedean Property) ถ้า x แล้วจะมีจำนวนเต็มบวก n ซึ่ง x < n การพิสูจน์ให้ x  สมมติ x  nสำหรับทุก n ทำให้ x เป็นขอบเขตบนของและ เซตจึงมีขอบเขตบนน้อยสุด ให้ u = l.u.b. จากบทตั้ง 2.2.3 จะมี m ซึ่ง u – 1 < m u < m + 1 แต่ m + 1 เกิดการขัดแย้งที่ u = l.u.b. นั่นคือจะมี n ซึ่ง x < n 

  14. บทแทรก 2.2.7ให้ y และ z เป็นจำนวนจริงบวกจะได้ว่า (1) จะมี n ซึ่ง z < ny (2) จะมี n ซึ่ง 0 < < y (3) จะมี n ซึ่ง n – 1  z < n การพิสูจน์ให้ y, z + (1) เนื่องจาก > 0 จะมี n  ซึ่ง < n ดังนั้น z < yn (2) จาก (1) z < yn ให้ z = 1 จะได้ว่า 1 < ny ดังนั้น 0 < < y

  15. (3) พิจารณาเซต { m  | z < m }จากสมบัติของอาร์คีมิเดียนจะได้ว่าเซตนี้ไม่เป็นเซตว่าง ให้ n เป็นสมาชิกที่น้อยที่สุดในเซตนี้ ดังนั้น n – 1  z < n 

  16. ทฤษฎีบท 2.2.8มีจำนวนจริงบวก x ซึ่ง x2 = 2

  17. สมบัติความหนาแน่นของจำนวนตรรกยะใน ทฤษฎีบท 2.2.9 The Density Theorem ถ้า x และ y เป็นจำนวนจริงใดๆโดยที่ x < y แล้วจะมีจำนวนตรรกยะ r ซึ่ง x < r < y บทแทรก 2.2.10ถ้า x และ y เป็นจำนวนจริงใดๆซึ่ง x < y แล้วจะมีจำนวนอตรรกยะ rซึ่ง x < r< y

  18. ช่วง (Intervals) เซตย่อยของจำนวนจริงในลักษณะต่อไปนี้เรียกว่า ช่วง ถ้า a, b และ a < b (1) ช่วงเปิด ( a, b ) = { x  | a < x < b } (2) ช่วงปิด [ a, b ] = { x  | a  x  b } (3) ช่วงครึ่งเปิด (หรือครึ่งปิด) ( a, b ] = { x  | a < x  b } [ a, b ) = { x  | a  x < b } ช่วง (1) – (3) เป็นช่วงที่มีขอบเขต (bounded intervals) มีความยาวช่วงจำกัด ความยาวช่วงคือ | a – b |

  19. (4) ช่วงอนันต์ ( a, ) = { x  | x > a } ( –, a ) = { x  | x < a } [ a, ) = { x  | x  a } ( –, a ] = { x  | x  a } ( –, ) = ช่วง (4) เป็นช่วงที่ไม่มีขอบเขต (unbounded intervals) หมายเหตุ (1) สัญลักษณ์ และ –ไม่สามารถบอกเป็นค่าจำกัดได้ว่ามีค่าเท่าใดส่วนจำนวนจริงทุกจำนวนเป็นจำนวนจำกัด , –จึงไม่ใช่จำนวนจริง (2) สำหรับ a , ( a, a ) = และ [ a, a ] = { a }

  20. 2.3 ทอพอโลยีบนเซตจำนวนจริง บทนิยาม 2.3.1ให้ x0 จะเรียกเซต ว่า ย่านของจุด x0 (neighborhood of x0)เมื่อมีจำนวนจริงบวกซึ่ง ( x0 – , x0 +  ) ย่านของจุด x0 เขียนแทนด้วย ( x0 ) บทนิยาม 2.3.2ให้เซต G เป็นเซตย่อยของจะเรียก G ว่า เซตเปิด (open set)ในถ้าแต่ละ x  Gจะมีย่านของจุด x ที่( x)  G จึงกล่าวได้ว่าเซต G เป็นเซตเปิดก็ต่อเมื่อสามารถแสดงได้ว่าทุกๆx  G จะมี x > 0 ซึ่ง ( x – x, x + x )  G

  21. ทฤษฎีบท 2.3.3 (1) เป็นเซตเปิด (2) เป็นเซตเปิด การพิสูจน์ (1) ให้ x ,  nซึ่ง x < n ให้x = | n – x | ซึ่ง ( x – x, x + x )  นั่นคือเป็นเซตเปิด (2) จะแสดงว่าเป็นเซตเปิดนั่นคือ “ ถ้า xแล้วจะมี x > 0 ซึ่ง ( x – x, x + x ) ” แต่เนื่องจากข้อความดังกล่าวมีค่าความจริง เป็นจริง ดังนั้น เป็นเซตเปิด

  22. ตัวอย่าง 2 (1) ( 0, 1 ) เป็นเซตเปิดใน เนื่องจากทุก x  ( 0, 1 ) x > 0 ซึ่ง ( x – x, x + x )  ( 0,1 ) (2) [ 0, 1 ] ไม่เป็นเซตเปิดใน เพราะว่ามี 0 [ 0, 1 ] ที่ไม่สามารถหา  > 0 ซึ่ง ( –, )  [ 0, 1 ] (3) { 1, 2, 3 } ไม่เป็นเซตเปิดใน

  23. บทนิยาม 2.3.4ให้เซต F เป็นเซตย่อยของจะเรียก F ว่าเป็น เซตปิด (closedset)ในเมื่อ FCเป็นเซตเปิดใน จึงกล่าวได้ว่าเซต F เป็นเซตปิดก็ต่อเมื่อแต่ละ x  FCจะมี x > 0 ซึ่ง ( x – x, x + x )  F = หรือ ( x – x, x + x )  FC ทฤษฎีบท 2.3.5 (1) เป็นเซตปิด (2) เป็นเซตปิด

  24. ทฤษฎีบท 2.3.6ยูเนียนของเซตเปิดใดๆ เป็นเซตเปิด การพิสูจน์ ให้ { G | Gเป็นเซตเปิดและ  , โดยที่ เป็นเซตดรรชนี } จะแสดงว่า เป็นเซตเปิด ถ้า = แล้วโดยทฤษฎีบท 2.3.3(2) จะได้ เป็นเซตเปิด ถ้า  ให้ x  จะได้ว่า x  G

  25. เนื่องจาก Gเป็นเซตเปิดจะมี  > 0 ซึ่ง x  ( x – , x +  )  G นั้นคือเป็นเซตเปิด

  26. ทฤษฎีบท 2.3.7อินเตอร์เซกชันอย่างจำกัดของเซตเปิดเป็นเซตเปิด การพิสูจน์ให้ G1, G2, G3, …, Gnเป็นเซตเปิดจะแสดงว่า เป็นเซตเปิด ถ้า = แล้วโดยทฤษฎีบท 2.3.3(2) จะได้ เป็นเซตเปิด ถ้า =  ให้ x  ย่อมได้ว่า x  G1 , และ x  G2, และ x  G3, …, และ x  Gn

  27. x  G1 1 > 0 ซึ่ง ( x – 1, x + 1 )  G1 x  G2 2 > 0 ซึ่ง ( x – 2, x + 2 )  G2 …………………………………………. x  Gn n > 0 ซึ่ง ( x – n, x + n )  Gn ให้  = min { 1, 2, 3, …, n } ทำให้ ( x – , x + )  Gi i = 1, 2, 3, …, n ดังนั้น ( x - , x + )  นั้นคือ เป็นเซตเปิด

  28. ทฤษฎีบท 2.3.8อินเตอร์เซกชันใดๆของเซตปิดเป็นเซตปิด การพิสูจน์ให้ { F | Fเป็นเซตปิด,  } จแสดงว่า เป็นเซตเปิด เนื่องจาก ( )C = ซึ่ง , เป็นเซตเปิด จากทฤษฎีบท 2.3.6 เป็นเซตเปิด นั้นคือ เป็นเซตปิด

  29. บทแทรก 2.3.9ยูเนียนอย่างจำกัดของเซตปิดเป็นเซตปิด ตัวอย่าง 4กำหนด Gn = ( 1, 2 + ) , n  Gnเป็นเซตเปิด , n  พิจารณา จะได้ว่า = ( 1, 2 ] ซึ่งไม่เป็นเซตปิด

  30. ตัวอย่าง 5กำหนด Fn = ( 1, 2 - ) , n  Fnเป็นเซตเปิด , n  พิจารณา จะได้ว่า = [ 0, 1 ) ซึ่งไม่เป็นเซตปิด

  31. บทนิยาม 2.3.10ให้ A และ x Aจะเรียก x ว่าเป็น จุดภายใน (interiorpoint)ของ A ถ้ามีย่านของจุด x เป็นเซตย่อยของ A บทนิยาม 2.3.11ให้ A และ x จะเรียก x ว่าเป็น จุดลิมิต (cluster points or limit points) ของ A ถ้าทุกๆย่านของจุด x บรรจุสมาชิกของเซต A ที่ไม่ใช่ x นั่นคือ x เป็นจุดลิมิตของ A เมื่อแต่ละ  > 0 , (x)  ( A – { x } ) 

  32. ทฤษฎีบท 2.3.12เซตย่อยของเซตของจำนวนจริงที่ไม่ใช่เซตว่าง เป็นเซตปิดก็ต่อเมื่อเซตนั้นบรรจุทุกๆจุดลิมิตของเซต การพิสูจน์ ให้ F เป็นเซตปิด F และ x เป็นจุดลิมิตของ F จะแสดงว่า x  F สมมติ x  Fดังนั้น x  FC เนื่องจาก FCเป็นเซตเปิดจึงมีย่านของจุด x, (x) ซึ่ง(x)  FC ดังนั้น (x)  F =  เกิดการขัดแย้ง ที่ว่า x เป็นจุดลิมิตของ F ดังนั้น xF

  33. ในทางกลับกัน ให้ F ที่บรรจุทุกๆจุดลิมิตของ F จะแสดงว่า F เป็นเซตปิด ให้ y  FCดังนั้น y จึงไม่เป็นจุดลิมิตของ F ทำให้มีย่านของ y , (y) ซึ่ง(y)  ( F – { y } ) =  แต่ y  FC, (y)  F = (y)  FC ทำให้ FCเป็นเซตเปิด ดังนั้น F เป็นเซตปิด 

  34. บทนิยาม 2.3.13 ช่วงซ้อนใน (Nested Intervals) ลำดับของช่วง In, n จะเรียกว่าเป็นช่วงซ้อนใน (nested)ดังรูป ถ้า I1 I2  I3 …  In  In+1 … I1 I3 I5 [ [ [ [ [ ] ] ] ] ] I4 I2

  35. ทฤษฎีบท 2.3.14 สมบัติของช่วงซ้อนใน (Nested Intervals Property) ถ้า In = [ an, bn ] , n เป็นช่วงซ้อนในที่ Inเป็นช่วงปิดทุกๆ n แล้วจะมีจำนวนจริง x0ซึ่ง x0 Inสำหรับทุก n  และถ้า g.l.b. { bn – an In = [ an, bn ] , n  } = 0แล้ว In , n จะมีสมาชิกร่วมเพียงตัวเดียว

  36. ทฤษฎีบท 2.3.15 ทฤษฎีโบลซาโน–ไวแยร์สตราสส์ (Balzano–Weierstrass Theorem) ทุกเซตย่อยของเซตของจำนวนจริงที่เป็นเซตอนันต์และมีขอบเขตจะต้องมีจุดลิมิต

More Related