1 / 9

การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey

การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey. ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ. โดย ... กองแผนงาน & กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร. การประเมินผลจาก Survey Online.

chase
Download Presentation

การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์ Organization Development Survey

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบออนไลน์Organization Development Survey ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ โดย ... กองแผนงาน & กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

  2. การประเมินผลจาก Survey Online ผลการสำรวจครั้งที่ 1 (1-15ธ.ค.54) เป็นข้อมูลนำไปดำเนินการพัฒนาองค์การโดยจำนวนผู้ตอบแบบสำรวจออนไลน์ต้องไม่น้อยกว่าจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่กำหนด (331 คน) กรมอนามัย มีผู้ตอบแบบสำรวจ 752 คน คิดเป็นร้อยละ 227.19 ของเป้าหมาย และคิดเป็นร้อยละ 39.48 ของข้าราชการกรมอนามัย (1,905 คน) หมายเหตุ : บุคลากรกรมอนามัย ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2554 จำนวนทั้งสิ้น 1,905 คน เพศชาย 278 คน ร้อยละ 14.59 เพศหญิง 1,627 คน ร้อยละ 85.41 สังกัดส่วนกลาง 502 คน ร้อยละ 26.35 สังกัดส่วนภูมิภาค 1,403 คน ร้อยละ 73.65 แหล่งข้อมูล : กองการเจ้าหน้าที่ กรมอนามัย ความคิดเห็น หมายถึง การแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งของบุคลากรภายในองค์การ กับข้อมูลอันเป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ความสำคัญหมายถึง การให้น้ำหนักในการพิจารณากับเรื่องที่เห็นว่ามีคุณค่า มีประโยชน์ หรือมีผลกระทบต่อองค์การ หรือเป็นเรื่องที่มีความจำเป็นมากกว่าเรื่องอื่น

  3. ปัญหาอุปสรรคที่พบจากการสำรวจออนไลน์ปัญหาอุปสรรคที่พบจากการสำรวจออนไลน์ • ไม่มีการชี้แจงทำความเข้าใจข้อคำถามให้ชัดเจนก่อนการสำรวจ • ผู้ตอบ ไม่เข้าใจข้อคำถาม/ เข้าใจไม่ตรงกัน เช่น ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้อมูล ระบบเครือข่าย หมายถึงระบบของกรมหรือระบบของหน่วยงาน ผู้บริหารและผู้บังคับบัญชาหมายถึงใครบ้าง • คำถามไม่สามารถแยกระหว่าง “ความเห็น” กับ “ความสำคัญ” • เป็นการตอบตามความรู้สึก และอารมณ์ • ผลการสำรวจเป็นภาพรวมของกรมอนามัย ไม่สามารถจำแนกรายหน่วยงาน • ฯลฯ

  4. ข้อมูลทั่วไป

  5. เปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็นและความสำคัญ ของผู้ใช้งานสารสนเทศ

  6. เปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็นและความสำคัญ (3.6)

  7. ผลการเปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็น • และความสำคัญ ของผู้ใช้งานสารสนเทศ • ด้านระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย ให้ความสำคัญสูง 3.7 ด้านระบบฐานข้อมูลให้ความสำคัญ 3.6 จากคะแนนเต็ม 4 แสดงว่าผู้ใช้งานสารสนเทศ ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ค่อนข้างสูง • ความเห็นต่อระบบทั้ง 3 มีค่า 3.2-3.3 ระดับปานกลางใกล้เคียงกัน และ GAP หรือส่วนต่างระหว่างความสำคัญกับความคิดเห็น = 0.4 ซึ่งไม่สูงนัก • โดยสรุปภาพรวมขององค์กรถือว่า Infrastructure ด้าน IT ของกรมอนามัยค่อนข้างดี แต่ควรเน้นเรื่องการปรับปรุงฐานข้อมูลให้ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย เพื่อใช้สนับสนุนการทำงาน สื่อสารองค์ความรู้และแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานที่ดีมากขึ้น สื่อสารให้คนกรมอนามัย รู้จัก และใช้ประโยชน์จากระบบฐานข้อมูลที่มีอยู่ให้มากขึ้น

  8. ผลการเปรียบเทียบระหว่าง GAP กับระดับความเห็นและความสำคัญ • ข้อที่มีค่า GAP สูงควรมีการปรับปรุงแก้ไขมากที่สุด โดยเฉพาะข้อที่มีคะแนนความสำคัญสูงด้วย เช่น • ข้อ 19. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าผู้บริหารมีความยุติธรรม • ข้อ 20. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าส่วนราชการมีการทำงานอย่างซื่อตรงไม่ทุจริต • คอร์รัปชั่น • ข้อ 7. ข้าพเจ้าเข้าใจทิศทางและกลยุทธ์ของส่วนราชการ • ข้อที่มีค่า GAP กลางๆ คือ 0.4 ให้ความสำคัญระดับกลางๆ คือ 3.5-3.6 เช่นข้อ 9121322232526 ซึ่งคำถามสะท้อนบรรยากาศการทำงานที่เกี่ยวข้องกับผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงานหรือ หน่วยงานเป็นส่วนมาก แนวทางการพัฒนาอาจใช้การเป็นพี่เลี้ยง และให้คำปรึกษา (Coaching and mentoring) การสำรวจความต้องการ หรือเรียนรู้จากผู้ปฏิบัติงาน • ข้อที่ผู้ตอบให้ความสำคัญสูง แต่ GAP ไม่สูง ได้แก่ ข้อ 152430811141721 ซึ่งเป็นเรื่องที่สะท้อนความสามารถของตนเอง (ว่าเป็นคนดีมีความสามารถ ) อาจไม่ต้องแก้ไขมากนัก

  9. สรุป : แนวทางการพัฒนาองค์การกรมอนามัย • ไม่ควรแก้ไขปัญหาโดยการทำแผนเพื่อลด GAP เป็นข้อ ๆ • แต่ควรมองในภาพรวมอย่างบูรณาการกัน • วิธีการพัฒนา หรือแก้ปัญหา ต้องใช้วิธีการบริหารจัดการองค์กร คือการบริหารคน กับการบริหารงาน ไปด้วยกัน ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง ถ่ายทอดมาที่ระดับกลาง (หัวหน้าหน่วยงาน หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย หัวหน้างาน) จนถึงผู้ปฏิบัติ โดยหลัก Organization Leadership and communication คือการนำองค์กรและการสื่อสารภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง

More Related