1 / 48

definition, data structure and file system

definition, data structure and file system. การจัดการแฟ้มข้อมูล File Management. Files. File Processing คืออะไร. +. File Processing. Processing. ทำไมจึงต้องเรียน ?. ใช้แฟ้มข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ เลือกใช้อุปกรณ์บันทึกข้อมูลภายนอกได้อย่างเหมาะสม ออกแบบเลือกแฟ้มข้อมูลให้เหมาะสมกับงาน.

Download Presentation

definition, data structure and file system

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. definition, data structure and file system การจัดการแฟ้มข้อมูลFile Management

  2. Files File Processing คืออะไร + File Processing Processing

  3. ทำไมจึงต้องเรียน ? • ใช้แฟ้มข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ • เลือกใช้อุปกรณ์บันทึกข้อมูลภายนอกได้อย่างเหมาะสม • ออกแบบเลือกแฟ้มข้อมูลให้เหมาะสมกับงาน

  4. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล

  5. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล มีองค์ประกอบของข้อมูลดังนี้ บิต (Bit)คือ หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งแทน ด้วยเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 ไบต์ (Byte)คือ กลุ่มของบิตใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข หรือ สัญลักษณ์พิเศษ เพียง 1 ตัว เช่น 01000001 คือ ตัว A โดยที่ 8 บิต เท่ากับ 1 ไบต์ ฟิลด์ (Field) คือ กลุ่มของไบต์ที่รวมกันแล้วมีความหมาย เช่น ชื่อ, นามสกุล, ที่อยู่, เบอร์โทรศัพท์

  6. 1100 1101 1111 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 1111 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 = 1 Field (พอลล่า เทเลอร์) ตัวอย่างองค์ประกอบของข้อมูล = 1 Byte 1 1 0 0 0 0 1 1 4 Bits 4 Bits

  7. โครงสร้างแฟ้มข้อมูล ระเบียนข้อมูล (Record) หมายถึง กลุ่มของเขตข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกัน ระเบียนข้อมูลจึงประกอบด้วยเขตข้อมูลตั้งแต่ หนึ่งเขตขึ้นไป แฟ้มข้อมูล (File)หมายถึง กลุ่มระเบียนข้อมูลที่มีเขตข้อมูล เหมือนๆ กัน ซึ่งประกอบด้วยระเบียนข้อมูลตั้งแต่หนึ่งระเบียน ขึ้นไป

  8. ฟิวด์อาชีพ : นักแสดง 1100 1101 1111 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 ตัวอย่างโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ฟิวด์ชื่อ : พอลล่า เทเลอร์ 1100 1101 1111 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 1111 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 1100 1101 ฟิวด์อายุ : 25 = 1 Record(ข้อมูลของพอลล่า) 1100 1101 1111 1101

  9. ตัวอย่างโครงสร้างแฟ้มข้อมูลตัวอย่างโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ชื่อ อาชีพ อายุ Recordที่ 1 พอลล่า เทเลอร์ นักแสดง 25 อุดร สมบัติมาก ขายกล้วยแขก Recordที่ 2 45 วัลภา อุดมโชค ขายล๊อตตารี่ 30 Recordที่ 3 = 1 File(แฟ้มข้อมูลประวัติ)

  10. Bit & Byte เนื่องจากบิตมีสถานะได้เพียง 2 สถานะ จึงไม่เพียงพอในการใช้งาน จึงได้มี การรวบรวมจำนวนบิต ดังกล่าวหลาย ๆ บิตเข้าเป็นไบต์ (Byte) ได้แก่ รหัสข้อมูล (8 bits -> 1 byte) --> 1 ตัวอักษร

  11. การเข้าและถอดรหัสข้อมูลภายในคอมพิวเตอร์การเข้าและถอดรหัสข้อมูลภายในคอมพิวเตอร์ • รหัสภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้ในการแทนค่าตัวเลขและตัวอักขระลงในคอมพิวเตอร์ มีหลายแบบ เช่น • รหัสบีซีดี (BCD) • รหัสเอ็บซีดิด (EBCDIC) • รหัสแอสกี้ (ASCII) • การเข้ารหัส คือการเปลี่ยนจากตัวเลขหรือตัวอักษรทั่วไปให้อยู่ในรูปของค่าเลข 0 หรือ 1 ที่เรียงต่อกัน • การถอดรหัส คือการเปลี่ยนจากค่ารหัสที่เป็นค่าเลข 0 หรือ 1 ที่เรียงต่อกันมาเป็นตัวเลขหรือตัวอักษร

  12. การเข้ารหัสแบบ BCD • ใช้พื้นที่ทั้งหมด 6 บิตในการแทนรหัสแต่ละตัว • แทนรหัสได้ มากที่สุด 26 ตัว (64 ตัว) • การสร้างรหัสจะแบ่งบิตทั้งหมดเป็น 2 โซน คือ

  13. การเข้ารหัสแบบ BCD • ข้อมูลตัวเลข • จะขึ้นต้นด้วย 00 =7 =9 =802

  14. การเข้ารหัสแบบ BCD A • ข้อมูลตัวอักษร • ขึ้นต้น zone bit ที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับตำแหน่งของตัวอักษร • A – I Zone bit = 11 • J – R Zone bit = 10 • S – Z Zone bit = 01 ** ตำแหน่งของตัวอักษรตัวแรกจะเริ่มที่ตัวเลข 2 B S

  15. การเข้ารหัสแบบ EBCDIC • ใช้พื้นที่ทั้งหมด 8 บิตในการแทนรหัสแต่ละตัว • แทนค่ารหัสได้ มากที่สุด 28 ตัว (256) • การสร้างรหัสจะแบ่งบิตทั้งหมดเป็น 2 โซน คือ

  16. การเข้ารหัสแบบ EBCDIC • ข้อมูลตัวเลข • Zone bit = 1111 (ฐานสอง) หรืออักษร F (ฐานสิบหก) = 7 =1

  17. การเข้ารหัสแบบ EBCDIC • ข้อมูลตัวอักษร • Zone bit ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของตัวอักษรนั้น • A-I Zone bit = 1100 หรือ C (ฐานสิบหก) • J-R Zone bit = 1101 หรือ D(ฐานสิบหก) • S-Z Zone bit = 1100 หรือ E (ฐานสิบหก)** อักษรตัวแรกเริ่มที่เลขสอง A S

  18. การเข้ารหัสแบบ ASCII • ใช้พื้นที่ทั้งหมด 8 บิตในการแทนรหัสแต่ละตัว • แทนค่าได้ มากที่สุด 28 ตัว (256) คือรหัส 00000000 - 11111111

  19. การเข้ารหัสแบบ ASCII

  20. ฟิวด์ (Field) ประกอบด้วย 1 ตัวอักษรขึ้นไปมารวมกันให้เกิดความหมายขึ้นมาใช้แทนข้อมูล ชนิดของข้อมูลหรือฟิวด์ BooleanIntegerFloating-pointCharactersStringsDate/TimeBinary ฟิวด์ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ 1. key field เป็นฟิวด์ที่ใช้สำหรับอ้างอิง จำแนก หรือบอกตำแหน่งที่เก็บ Record - Primary Key - Secondary Key 2. Nonkey field เป็นฟิวด์ที่ไม่ได้ใช้สำหรับค้นหาข้อมูล

  21. Primary Key เป็นเขตข้อมูลที่บ่งบอกเอกลักษณ์ของ Record ในแฟ้มข้อมูล เช่น รหัสนักศึกษา รหัสสินค้า ซึ่งเก็บค่าข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันโดยส่วนใหญ่ในการ จัดเรียกข้อมูลนิยมเรียกตามค่า Primary Key เพื่อความสะดวกในการค้นหา และการเข้าถึง Secondary Key เป็นฟิลด์ที่สามารถซ้ำกันได้ในแฟ้มเดียวกัน ปกติใช้สำหรับแบ่งกลุ่มข้อมูล ในแฟ้มเดียวกัน เช่น เพศ อายุ แผนก เชื้อชาติ

  22. Record แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ • Logical Recordคือ Record ในมุมมองของผู้ใช้ ไม่คำนึงถึงสื่อบันทึกข้อมูล เป็นRecord ที่มีความสัมพันธ์เชิงตรรกะซึ่งกันและกัน 2. Physical Recordคือ Record ในมุมมองของเครื่องคอมพิวเตอร์ คำนึงถึงสื่อบันทึกข้อมูล Physical Record A Record B Logical Record A Record A Record B Record B Record B

  23. Record สามารถแบ่งประเภท Record ตาม Local View ตามความยาวได้ดังนี้ 1. Fixed length record เป็นเขตข้อมูลที่ประกอบไปด้วย Record แบบเดียวกันตลอด แฟ้ม เขียนโปรแกรมง่าย แต่สิ้นเปลืองพื้นที่จัดเก็บ 2. Variable length record ขนาดของ Record ไม่คงที่

  24. Fix blocking Variable blocking / Spanned

  25. File เป็นการรวมกันของ Record หลาย ๆ Record ที่มีความสัมพันธ์กัน เช่น แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลนักศึกษาแฟ้มข้อมูลสินค้า

  26. ประเภทของแฟ้มข้อมูลแบ่งตามเนื้อหาประเภทของแฟ้มข้อมูลแบ่งตามเนื้อหา • แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) • แฟ้มข้อมูลรายการ (Transaction File) • แฟ้มดรรชนี (Index File) • แฟ้มตาราง (Table file) • แฟ้มข้อมูลเก่า (Historical File or Archival File) • แฟ้มสรุปผล (Summary File) • แฟ้มงาน (Work File) • แฟ้มรายงาน (Report File) • แฟ้มสำรอง (Backup File)

  27. Record ข้อมูลนิสิต ชื่อ พลอยน้ำดี เพศ หญิง วันเดือนปีเกิด 22 มกราคม 2531 Record ข้อมูลสินค้า รหัส 001 ประเภท02 ชื่อสินค้า กระดาษชำระ ราคา 25 บาท แฟ้มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้เก็บข้อมูลไว้อย่างถาวรและมักจะเรียงลำดับตาม Primary Key ข้อมูลที่เก็บต้องทันสมัยเสมอจัดเก็บข้อมูลที่มีการ เปลี่ยนแปลงน้อยหรือไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น แฟ้มหลักข้อมูลนิสิต, แฟ้มหลักข้อมูลสินค้า

  28. Record ข้อมูลสินค้า รหัส 001 ประเภท02 ชื่อสินค้า กระดาษชำระ ราคา 25 บาท แฟ้มดรรชนี (Index File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่มีลักษณะเช่นเดียวกับดรรชนีท้ายหนังสือ เป็นแฟ้มที่ใช้ ชี้บอกตำแหน่งของ Record ในแฟ้มข้อมูลหลัก ช่วยในการค้นหาข้อมูลหลัก ได้รวดเร็ว เราต้องมีการปรับค่าดรรชนีตามการเปลี่ยนแปลงของแฟ้มหลัก Master File Index File 103 102 101 100 key addr

  29. แฟ้มตาราง (Table File) เป็นตารางข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง มักเป็นการใช้ อ้างอิงในช่วงประมวลผลแฟ้มข้อมูลและมักเป็น Read Only เช่น อัตราภาษี ดอกเบี้ย อัตราเบี้ยประกัน หรือรายชื่อจังหวัด

  30. แฟ้มข้อมูลเก่า (Historical File) มักเป็นแฟ้มที่เก็บข้อมูลระยะยาวที่ไม่ใช้งานแล้ว และมักเก็บอยู่ภายนอก ศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อป้องกันไม่ให้หยิบใช้งานผิดพลาด โดยข้อมูลเก่า เหล่านี้ มักใช้เป็นสถิติ สำหรับอ้างอิง เปรียบเทียบหรือใช้พยากรณ์

  31. แฟ้มสรุปผล & แฟ้มงาน แฟ้มสรุปผล (Summary File) เป็นแฟ้มข้อมูลที่สร้างขึ้นจากแฟ้มข้อมูลอื่น โดยการรวบรวมหรือคำนวณ เพื่อให้อยู่ในรูปที่มีความหมายมากขึ้น และไม่ต้องเสียเวลาคำนวณค่าทุก ครั้งที่เรียกใช้ เช่น แฟ้มยอดขายประจำปี แฟ้มงาน (Work file) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ระบบปฏิบัติการ OS สร้างขึ้นมาเพื่อใช้งานชั่วคราว เช่น Sort file, temp file มีอายุการใช้งานสั้นและมักถูกลบทิ้งเมื่อสิ้นสุดการใช้ งานแล้ว

  32. แฟ้มรายงาน & แฟ้มสำรอง แฟ้มรายงาน (Report File) เป็นแฟ้มที่เก็บข้อมูลที่เป็นรูปแบบรายงาน มักสร้างขึ้นเพื่อรอการสั่งพิมพ์ที่ เครื่องพิมพ์หรือจอภาพ (Spooling) แฟ้มสำรอง (Backup File) เป็นแฟ้มที่เก็บข้อมูลสำรองไว้ เพื่อป้องกันความเสียหายหรือข้อผิดพลาดที่ เกิดขึ้น โดยนิยมใช้เทปแม่เหล็กหรือแผ่นดิสก์แทน

  33. จบบทที่ 02 definition, data structure and file system คำถาม ....

More Related