1 / 84

บทที่ 9

บทที่ 9. Start. การออกแบบส่วนแสดงผล (Output Design). Next. การออกแบบส่วนแสดงผล (Output Design). Back. วัตถุประสงค์ อธิบายกระบวนการออกแบบแบบฟอร์ม และรายงาน สามารถออกแบบแบบฟอร์ม และรายงานและจัดรูปแบบให้เหมาะสมกับระบบงาน

chet
Download Presentation

บทที่ 9

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 9 Start การออกแบบส่วนแสดงผล(Output Design) Next

  2. การออกแบบส่วนแสดงผล (Output Design) Back วัตถุประสงค์ อธิบายกระบวนการออกแบบแบบฟอร์ม และรายงาน สามารถออกแบบแบบฟอร์ม และรายงานและจัดรูปแบบให้เหมาะสมกับระบบงาน สามารถเลือกอุปกรณ์ในการแสดงผลให้เหมาะสมกับงบประมาณ และสิ่งแวดล้อมของระบบ หลีกเลี่ยงการออกแบบรายงานที่แสดงความหมายของข้อมูลผิดไปจากความจริง อธิบายเกณฑ์ในการประเมินผลแบบฟอร์ม และรายงาน Next

  3. แบบฟอร์มและรายงาน(Form/Report Design) • ฟอร์ม หมายถึง เอกสารทางธุรกิจที่มีข้อมูลบางอย่างแสดงไว้แล้วและยังมีพื้นที่ว่างให้ใส่ข้อมูลเพิ่มเติมลงไปได้อีก เช่น แบบฟอร์มใบสมัครงาน แบบฟอร์มใบสั่งซื้อ แบบฟอร์มใบสมัครงานสมาชิก เป็นต้น • รายงาน หมายถึง • เอกสารทางธุรกิจที่มีข้อมูลแสดงไว้อย่างเดียว • ใช้สำหรับอ่านหรือวิเคราะห์ข้อมูล • โดยปกติแล้วข้อมูลจะมาจากหลายๆ ระเบียนหรือรายการ (transactions) • เช่น รายงานข้อมูลสินค้าที่ไม่มีการเคลื่อนไหว รายงานผลการเรียนของนักศึกษา รายงานยอดขาย เป็นต้น

  4. แบบฟอร์มและรายงาน(Form/Report Design) • แบบฟอร์มและรายงาน สามารถทราบได้โดยดูจาก Data Flow Diagram • แบบฟอร์มดูจาก Input Data Flow Diagram ที่วิ่งเข้าสู่ Process • รายงานดูจาก Output Data Flow Diagram ที่วิ่งออกจาก Process

  5. แบบฟอร์ม รายงาน DFD Level 1: การรับสมัครสมาชิกห้องสมุด

  6. ตัวอย่างแบบฟอร์ม และรายงาน

  7. การออกแบบแบบฟอร์ม และรายงาน • การออกแบบแบบฟอร์ม จะกล่าวต่อไปเรื่องการออกแบบการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input Design) และส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (Graphic user Interface) • ในบทนี้ จะกล่าวถึงการออกแบบ Output

  8. กระบวนการออกแบบ Output • เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้แบบฟอร์ม และรายงาน • ใครเป็นผู้ใช้แบบฟอร์ม และรายงาน • วัตถุประสงค์ของแบบฟอร์ม และรายงาน • แบบฟอร์ม และรายงานถูกใช้เมื่อไหร่ ที่ใด และส่งต่อให้ใคร • จำนวนผู้ใช้แบบฟอร์ม และรายงาน • ออกแบบร่างแบบฟอร์ม และรายงาน • สร้างตัวต้นแบบ (Prototyping)

  9. หลักในการออกแบบ แบบฟอร์ม และรายงาน • ชื่อหัวเรื่องมีความหมายชัดเจน (Meaningful Titles) • เข้าใจง่าย สื่อความหมายถึงเนื้อหาในแบบฟอร์มและรายงานที่ชัดเจน • แสดงวันที่จัดทำรายงานที่ถูกต้อง • แสดงสารสนเทศที่จำเป็นต่อการใช้งาน (MeaningfulInformation) • สารสนเทศที่อยู่ในแบบฟอร์ม และรายงานต้องเป็นสารสนเทศที่จำเป็นต่อการใช้งานจริง ๆ เท่านั้น • สารสนเทศที่แสดงในฟอร์ม และรายงานตรงกับงานที่จะนำไปใช้

  10. หลักในการออกแบบ แบบฟอร์ม และรายงาน • มีการจัดวางองค์ประกอบที่สมดุล (Balance the Layout) • จัดวางสารสนเทศบนกระดาษและหน้าจออย่างสมดุล • มีระยะห่างระหว่างข้อมูล และส่วนต่าง ๆ อย่างเหมาะสม • ช่องป้อนข้อมูลต้องระบุหัวเรื่องอย่างชัดเจน • ใช้งานง่าย (Design an Easy Navigation System) • มีสัญลักษณ์ หรือการจัดวางที่ทำให้ผู้ใช้ทราบว่าจะทำงานในส่วนต่อไปต้องทำอย่างไร • มีข้อความแสดงสถานะการใช้งานปัจจุบันของผู้ใช้ เช่นบอกว่าอยู่ที่หน้าไหน จากจำนวนกี่หน้า

  11. Poorly designed form Vs. Improved design for form

  12. ประเภทของ Output • InternalOutput : Output ที่ใช้ภายในองค์กร • External Output : Output ที่ส่งออกภายนอกองค์กร เช่น ใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น • Turnaround output : Output ที่ส่งออกภายนอกองค์กร และมีบางส่วนที่ส่งกลับมายังองค์กร เช่น ใบฝากถอนเงิน ใบส่งสินค้า เป็นต้น

  13. Internal Outputs • Internal outputs : รายงานที่ใช้ภายในองค์กร ผู้ใช้เป็นบุคคลในองค์กร • Detailed reports present information with little or no filtering. • Summary reports categorize information for managers who do not want to wade through details. • Increasingly presented inn graphical formats using charts. • Exception reports filter detailed information before presenting it.

  14. Detailed reports • รายงานแสดงรายละเอียด(Detailed reports) - รายงานที่อ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล เช่น รายงานแสดงรายชื่อนักศึกษา - รายงานแสดงประวัติข้อมูล (Historical Report) : รายงานแสดง ข้อมูลประจำวัน (Transaction) เพื่อใช้ในการตรวจสอบ หรือยืนยันว่า ระบบได้ดำเนินการและเก็บข้อมูลได้อย่างถูกต้อง เช่น รายงานการเบิกของจากคลัง ประจำวัน • แสดงสารสนเทศที่ต้องการ • ในแต่ละบรรทัดจะแสดงถึงแต่ละrecord • Detail reports เป็นรายงานที่แสดงรายละเอียดของข้อมูลที่มีความยาวได้มาก

  15. Detailed reports

  16. Summary reports • รายงานสรุปตามกลุ่ม (Control-break reports) รายงานสรุปผล ข้อมูลจัดเป็นรายงานสำหรับผู้บริหาร เช่น รายงานงบกำไรขาดทุน • ใช้ field ควบคุมการแสดงผล • ข้อมูลต้องผ่านการเรียงลำดับก่อนที่จะมาแสดงผล • control break เปลี่ยนแปลงตามค่าของ field ควบคุมที่เปลี่ยนไป

  17. Summary reports

  18. Exception reports • รายงานที่จัดทำตามเงื่อนไขที่ผิดปกติ รายงานข้อยกเว้น หรือกรณีพิเศษ (Exception Reports): เป็นรายงานที่มีการกรองข้อมูลบางอย่างออกไป เพื่อคงไว้ข้อมูลที่ต้องการ เช่นรายงานผลเฉลี่ยสะสมรายวิชาที่ต่ำกว่าเกณฑ์ จะพิมพ์เฉพาะคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ถึง 2.00 • แสดงเฉพาะ record ที่ตรงตามเงื่อนไขที่กำหนด • ประโยชน์เพื่อใช้แสดงเฉพาะสารสนเทศที่ต้องการ • กำหนด parameter ในการเรียกค้นข้อมูลตามเงื่อนไขที่กำหนด

  19. Exception reports

  20. External Outputs • External outputs leave an organization. • Intended for customers, suppliers, partners, or regulatory agencies. • Turnaround documents are external outputs that eventually re-enter the system as inputs • Most “bills” and invoices include a stub to be returned by the customer with payment.

  21. External Document

  22. Turnaround Document

  23. องค์ประกอบของรายงาน • Report headers และ footers : ส่วนหัวและท้ายรายงาน • Page headers และ footers : ส่วนหัวและท้ายกระดาษ • Details : รายละเอียด • Grouping detail lines : การจัดกลุ่มข้อมูลที่แสดง

  24. การจัดรูปแบบแบบฟอร์มและรายงานการจัดรูปแบบแบบฟอร์มและรายงาน • การเน้นข้อความ (Highlighting Information) ใช้เทคนิคการเน้นข้อความเมื่อ • แจ้งผู้ใช้ถึงความผิดพลาดในการ input ข้อมูล หรือเกิดจากการประมวลผล • แจ้งเตือนผู้ใช้ถึงการใส่ข้อมูลที่อาจทำให้เกิดความผิดพลาดได้ • เน้นหัวข้อ หรือข้อมูลที่ต้องการ วิธีการเน้นข้อความสามารถทำได้ดังนี้ • ใช้สีที่มีความแตกต่างจากข้อความอื่น ๆ • ใช้ตัวอักษรกระพริบ • ใช้ตัวอักษรที่มีรูปร่างหนากว่าข้อความอื่น • ใช้ขนาดแตกต่างจากข้อความอื่น • ใช้รูปแบบตัวอักษรแตกต่างจากข้อความอื่น • แสดงข้อความให้อยู่ในรูปของคอลัมน์ • ขีดเส้นใต้ให้กับข้อความ • ใช้อักษรเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด • วางในตำแหน่งที่แตกต่างจากข้อความอื่น

  25. Highlighting Information

  26. การจัดรูปแบบแบบฟอร์มและรายงานการจัดรูปแบบแบบฟอร์มและรายงาน • การแสดงผลแบบสี และขาว-ดำ ข้อดีของการแสดงผลแบบมีสี • สามารถให้ความรู้สึกอ่อนโยนเวลามอง • สามารถแสดงให้เห็นถึงการเน้นข้อความหรือการให้ความสำคัญแก่ข้อความหรือสารสนเทศ • ช่วยให้สามารถแบ่งแยกรายละเอียดที่มีความซับซ้อนให้ดูได้ง่ายขึ้น • สามารถเน้นส่วนที่เป็นข้อความเตือนให้เด่นชัดขึ้นได้

  27. การจัดรูปแบบแบบฟอร์มและรายงานการจัดรูปแบบแบบฟอร์มและรายงาน • การแสดงผลแบบสี และขาว-ดำ ปัญหาที่เกิดจากการแสดงผลแบบมีสี • เป็นปัญหาต่อผู้ใช้งานที่มีอาการตาบอดสี • ความละเอียดของสีอาจมีค่าเปลี่ยนแปลงเมื่อใช้กับอุปกรณ์ต่างชนิดกัน • ความถูกต้องของสีอาจจะคลาดเคลื่อนเมื่อมีการใช้กับอุปกรณ์ต่างชนิดกัน

  28. รูปแบบการแสดงผลแบบข้อความ (Text) • การเขียนข้อความใช้หลักเกณฑ์เดียวกันการเขียนทั่วไป เช่น ขึ้นต้นประโยคด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ หรือมีเครื่องหมายวรรคตอน เป็นต้น • ระยะห่างระหว่างบรรทัดภายในย่อหน้าเดียวกันให้เว้นระยะห่าง 1 บรรทัด (single space) ส่วนระยะห่างระหว่างย่อหน้า ให้เว้นบรรทัดว่าง 2 บรรทัด (double space) • ควรมีการจัดข้อความให้ชิดซ้ายและเว้นระยะขอบด้านขวาพองาม • ไม่ควรใช้เครื่องหมายขีดกลาง ( - ) เพื่อแสดงการเชื่อมต่อคำระหว่างบรรทัด • ใช้คำย่อเฉพาะข้อความที่เห็นว่ามีความยาวมากเกินไป

  29. รูปแบบการแสดงผลแบบตารางและรายการ (Table/List) • กำหนดชื่อตาราง ชื่อคอลัมน์ให้สื่อความหมาย • ชื่อตาราง ชื่อคอลัมน์ เลขแถวควรเน้นเพื่อให้มองเห็นชัดเจน • กรณีตารางแสดงข้อมูลเกิน 1 หน้าควรแสดงหัวตารางในทุกหน้า • การจัดรูปแบบของคอลัมน์ แถวและข้อความ • เรียงลำดับข้อมูลในตาราง • เมื่อแสดงข้อมูลครบ 5 บรรทัดควรเว้นบรรทัดว่าง 1 บรรทัด • ควรมีระยะห่างระหว่างคอลัมน์พอสมควร • บนเอกสารที่เป็นแบบฟอร์มหรือรายงานควรมีที่ว่างให้สามารถบันทึกข้อความสั้นๆ ได้ • ควรใช้ตัวอักษรแบบธรรมดา ยกเว้นการใช้ตัวหนาเมื่อจะเน้นข้อความ • ไม่ควรใช้ตัวอักษรหลายๆ รูปแบบในหน้าเอกสารเดียวกัน

  30. รูปแบบการแสดงผลแบบตารางและรายการ (Table/List) • การจัดรูปแบบให้กับตัวเลข ข้อความ และตัวอักษรปนกับตัวเลข • สำหรับข้อมูลที่เป็นตัวเลขควรจัดให้ชิดขวาและจัดวางจุดทศนิยมตรงกันทุกบรรทัด • สำหรับข้อมูลที่เป็นข้อความ ควรกำหนดจำนวนตัวอักษรที่แสดงต่อ 1 บรรทัด โดยทั่วไปจะกำหนดไว้ที่ประมาณ 30-40 ตัวอักษรต่อบรรทัด • สำหรับข้อมูลที่เป็นตัวอักษรปนตัวเลข ควรกำหนดจำนวนตัวอักษรต่อ 1 กลุ่มคำประมาณ 3-4 ตัวอักษร

  31. Table/List

  32. Design Issue Design Guideline Examples Page At one time, most reports were printed on Not applicable. oversized paper. This required special Size กระดาษ binding and storage. Today, the page sizes of choice are standard (8 ½” x 11”) and legal (8 ½” x 14”). These sizes are compa tible with the predominance of laser printers in the modern business. Page Page orientation is the width and length of a page as it is rotated. The portrait Orientation การจัดวาง หน้ากระดาษ orientation (e.g., 8 ½ W x 11 L) is often preferred because it is oriented the way Portrait we orient most books and reports; Landscape however, (e.g., 11 W x 8 ½L) is often necessitated for tabular reports because more columns can be printed. Page Page headers should appear on every JAN 4, 2001 PAGE 4 OF 6 page. At a minimum, they should include a Headings หัวรายงาน recognizable report title, date and time, OVERSUBSCRIPTIONS BY COURSE and page numbers. Headers may be consolidated into one line or use multiple lines. Report A legend is an explanation of REPORT LEGEND: abbreviations, colors, or codes used in a Legends อธิบายตัวย่อ หรือคำสั่ง report. SEATS NUMBER OF SEATS IN THE CLASSROOM LIM COURSE ENROLLMENT LIMIT REQ NUMBER OF SEATS REQUESTED BY DEPARTMENT In a printed report, a legend can be printed on only the first page, or on every RES NUMBER OF RESERVED FOR DEPARTMENT page. USED NUMBER OF SEATS USED BY DEPARTMENT AVL NUMBER OF SEATS AVAILABLE FOR DEPARTMENT On a display screen, a legend can OVR NUMBER OF OVERSUBSCRIPTIONS FOR DEPARTMENT Tabular Report Design Principles

  33. Design Issue Design Guideline Examples Column Column headings should be short and descriptive. If possible, avoid Heading ชื่อคอลัมน์ s abbreviations. Unfortunately, this is not always possible. If abbreviations are used, include a legend (see above). Heading The relationship of column headings to the Left justification (good for longer and variable length fields) actual column data under those headings Alignments การจัดวาง หัวข้อ can greatly affect readability. Alignment NAME should be tested with users for ========================= preferences with a special emphasis on XXXXXXXX X XXXXXX XXX XXXXX the risk of misinterpretation of the information. Right justification (good for some numeric fields; especially monetary fields). Be sure to align decimal points. See examples for possibilities (that can b e combined) AMOU NT ========= $$$,$$$.¢¢ Center (good for fixed length fields and some moderate length fields) STATUS ====== XXXX XXXX Column The spacing between columns impacts readability. If the columns are too close, Spacing ระยะห่าง ระหว่าง คอลัมน์ users may not properly differentiate between the columns. If they are spaced too far apart, the user may have difficulty following a single row all the way across a page. As a general rule of thumb, place 3 - 5 spaces between each column. Tabular Report Design Principles

  34. Design Issue Design Guideline Examples Row The first one or two columns should serve By number: as the identification data that differentiates Headings each row. STUDENT ID STUDENT NAME =========== ==== =================== Rows should be sequenced in a fashion 999 - 38 - 8476 MARY ELLEN KUKOW that supports their use. Frequently rows 999 - 39 - 5857 are sorted on a numerical key or alphabetically By alpha: SERVICE CANCEL SUBSCR TOTAL ====== ====== ====== ====== 45 345 7665 HBO Formatting Data is often stored without formatting As stored: As output: characters to save storage space. Outputs should reformat that data to match the 307877262 307 - 87 - 7262 users’ norms. 8004445454 (800) 444 - 5454 02272000 Feb 27, 2000 Control Frequently, rows represent groups of RANK NAME SALARY meaningful data. Those groups should be ==== ============== ====== Breaks logically grouped in the report. The 175,000 CPT JANEWAY, K transition from group to the next is called a 225,000 CPT KIRK, J control break and is frequently followed by 200,000 CPT PICARD, J sub - totals for the group. 16 5,000 CPT SISKO, B ------------ > 765,000 a control break CAPTAINS TOTAL 110,000 LTC CHAKOTAY 125,000 LTC DATA 140,000 LTC RIKER, W 155,000 LTC SPOCK, S ------------ 530,000 EXEC OFFCR TOTAL End of Report *** *** The end of a report should be clearly END OF REPORT indicated to ensure that users have the entire report. Tabular Report Design Principles (concluded)

  35. Screen Design Design Guidelines Consideration Size Different displays support different resolutions. The designer should consider the “lowest Common denominator.” The default window size should be less than or equal to the worst resolution display in the user community. For instance, if some users will have only a 640 x 480 pixel resolution display, don’t design windows to open at an 800 x 600 pixel resolution. Scrolling On - line outputs have the advantage of not being limited by the physical page. This can also be a disadvantage if important information such as column headings scrolls off the screen. If possible, freeze important headings at the top of a screen. Navigation Users should always have a sense of where they are in a network of online screens. Given that, - users also require the ability to navigate between screens. WINDOWS: Outputs appear in windows called forms. A form may display one record or many. The scroll bar should indicate where you are in the report. Buttons are frequently provided to move forward and backward through records in the report, and to exit The report. INTERNET: Outputs appear in windows called pages. A page may display one record or many. Buttons or hyperlinks may be used to navigate through records. Custom search engines can also be used to navigate to specific locations within a report. Partitioning Zones WINDOWS: are forms within forms. Each form is independent of the other but can be related. The zones can be independently scrollable. The Microsoft Outlook bar is one example. Zones can be used for legends or control breaks that take the user to different sections within a report. Frames are pages within pages. Users can scroll independently within pages. INTERNET: Frames can enhance reports in many ways. They can be used for a legend, table of contents, or summary information. Screen Output Design Principles

  36. Screen Design Design Guidelines Consideration Information Hiding On - line applications such as those that run under Windows or within an Internet browser offer capabilities to hide information until it is either needed or becomes important. Examples of such information hiding include: · Drill - to expand or contract the level of detail displayed. In Windows outputs the use of a small plus- or minus-sign in a small box to o the left of a data record offers the option of expanding or contracting the record into more or less detail. All of this expansion and contraction occurs within the output’s window. In Intranet applications, any given piece of summary information can be o highlighted as a hyperlink to expand that information into greater detail. Typically, the expanded information is opened in a separate Window so the reader can use the browser’s forward and backward buttons to switch between levels of detail. · Pop - up dialog boxes may be triggered by information Highlighting Highlighting can be used in reports to call users’ attention to erroneous data, exception data, or specific problems. Highlighting can also be a distraction if misused. On-going human factors research will continue to guide our future use of highlighting. Examples of highlighting include: · Color (avoid colors that the colorblind cannot distinguish) · Font and case (changing case can draw attention) · Justification (left, right, or centered) · Hyphenation (not recommended in reports) · Blinking (can draw attention or become annoying) · Reverse video Printing For many users, there is still comfort in printed reports. Always provide users the option to print a permanent copy of the report. For Internet use, reports may need to be made available in industry standard formats such as Adobe Acrobat, which allows users to open and read those reports using free and widely available software. Screen Output Design Principles (concluded) down controls that show minimal information and provide readers with simple ways

  37. รูปแบบการแสดงผลแบบตารางและกราฟ (Table/Graph) • เลือกใช้ตารางเมื่อ • ต้องการแสดงผลตัวเลขเป็นรายการอย่างชัดเจน • เลือกใช้กราฟเมื่อ • สรุปผลข้อมูลตัวเลขนั้น • แสดงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลตัวเลขนั้น • เปรียบเทียบข้อมูลตัวเลขที่มีค่าแตกต่างกัน • ใช้แสดงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงเพื่อการพยากรณ์ค่าตัวเลขในอนาคต

  38. Table

  39. Graph

  40. การเลือกอุปกรณ์ในการแสดงผลการเลือกอุปกรณ์ในการแสดงผล • ข้อพิจารณาในการเลือกอุปกรณ์ในการแสดงผล • ใครเป็นผู้ใช้ • จำนวนผู้ใช้มากน้อยเพียงใด • Output ถูกใช้งานที่ไหน • วัตถุประสงค์ของ Output คืออะไร • ความเร็วที่ต้องการได้ Output • ความถี่ในการใช้ Output • ระยะเวลาที่ต้องการจัดเก็บ Output นานเพียงใด • การผลิต Output ภายใต้กฎ ข้อบังคับอะไรหรือไม่ • งบประมาณในการจัดหา Technology และการบำรุงรักษา • สิ่งแวดล้อมในการใช้ Output เป็นอย่างไร

  41. ชนิดของ output 1 Printed output พิมพ์ออกมา • Tabular output presents information in columns. • Zoned output places text and numbers into designated “areas” 2 Screen output แสดงผลทางหน้าจอ • Graphic output is the use of pictorial charts to convey information in ways that demonstrate trends and relationships that cannot be easily seen in tabular formats. 3 Point-of-sale terminals 4 Multimedia 5 E-mail 6 Hyperlinks 7 Microfilm • Or microfiche

  42. การจัดรูปแบบสารสนเทศเพื่อหลีกเลี่ยงความหมายของข้อมูลผิดไปการจัดรูปแบบสารสนเทศเพื่อหลีกเลี่ยงความหมายของข้อมูลผิดไป • ความโน้มเอียงของสารสนเทศเกิดจาก • การเรียงลำดับ • ตามตัวอักษร • ตามวันเดือนปี • ตามค่าของข้อมูล เช่น ต่ำสุด มากที่สุด เป็นต้น เช่นการแสดงรายชื่อ Supplier ตามตัวอักษร โดย ไม่ได้แสดงราคาขายของสินค้า ผู้ใช้อาจเข้าใจว่าเรียง ตามราคาขายต่ำสุดก็ได้ ดังนั้นควรแสดงค่าของข้อมูล ที่ใช้ในการเรียงลำดับด้วย

  43. การจัดรูปแบบสารสนเทศเพื่อหลีกเลี่ยงความหมายของข้อมูลผิดไปการจัดรูปแบบสารสนเทศเพื่อหลีกเลี่ยงความหมายของข้อมูลผิดไป • ความโน้มเอียงของสารสนเทศเกิดจาก • การกำหนด limit ในการแสดงข้อมูล เช่น ต้องการแสดงเฉพาะที่ลูกหนี้ที่มียอดหนี้มากกว่า 200,000,000 ซึ่งอาจไม่มีสารสนเทศถูกแสดงออกมาเลยก็ได้ • การตั้ง limit ต่ำเกินไป -> สารสนเทศถูกแสดงออกมามากเกินไป • การตั้ง limit สูงเกินไป -> สารสนเทศถูกแสดงออกมาน้อย หรือไม่มีเลย

  44. การจัดรูปแบบสารสนเทศเพื่อหลีกเลี่ยงความหมายของข้อมูลผิดไปการจัดรูปแบบสารสนเทศเพื่อหลีกเลี่ยงความหมายของข้อมูลผิดไป • ความโน้มเอียงของสารสนเทศเกิดจาก • การใช้ graphic ในการแสดงผล เช่น การวาดกราฟโดยกำหนด scale ละเอียดเกินไป ทำให้สารสนเทศที่ได้ดูมากเกินจริง หรือการใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนข้อมูลอาจดูแล้วไม่สื่อถึงความมาก หรือน้อยของข้อมูล

  45. 8a. 8b. Graphical Scaling Bias

  46. ข้อแนะนำในการหลีกเลี่ยงความโน้มเอียงในการแสดงสารสนเทศข้อแนะนำในการหลีกเลี่ยงความโน้มเอียงในการแสดงสารสนเทศ • หาแหล่งที่มาของความโน้มเอียงของสารสนเทศ • เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ระบบเข้ามามีส่วนร่วมกับการออกแบบ เพราะผู้ใช้ระบบรู้จักธรรมชาติของข้อมูลมากกว่า • ระบบต้องมีความยืดหยุ่นพอสมควร เพื่อให้ผู้ใช้สามารถปรับแก้ ให้สารสนเทศเป็นไปตามความต้องการได้

  47. การประเมินผลฟอร์มและรายงานการประเมินผลฟอร์มและรายงาน • แบบฟอร์มและรายงานจะต้องสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ (Usability) ซึ่งประกอบไปด้วยลักษณะ 3 ประการ คือ • มีความเร็ว (Speed) • มีความถูกต้อง (Accuracy) • มีความพึงพอใจ (Satisfaction)

  48. ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการนำไปใช้ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการนำไปใช้ • ความสอดคล้อง (Consistency) • ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) • ง่ายต่อการอ่าน (Ease) • รูปแบบ (Format) • ความยืดหยุ่น (Flexibility)

  49. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลการใช้งานหลักเกณฑ์ในการประเมินผลการใช้งาน • ระยะเวลาในการเรียนรู้การนำเข้าข้อมูลเพื่อแสดงผลบนฟอร์มและรายงานนั้น • ความเร็วในการแสดงผลทางหน้าจอหรืออุปกรณ์แสดงผล • อัตราความผิดพลาดอักอาจจะเกิดขึ้นได้ • ระยะเวลาที่จะสามารถจัดเก็บแบบฟอร์มและรายงานนั้นได้ • ความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ

More Related