1 / 42

การทำลายเชื้อ

การทำลายเชื้อ. และการทำให้ปราศจากเชื้อ. การแบ่งประเภทอุปกรณ์ทางการแพทย์. Critical item Semicritical item Noncritical item. Critical item. Critical items. อุปกรณ์เครื่องมือต้องสอดใส่เข้าสู่เนื้อเยื่อปราศจากเชื้อ หรือกระแสโลหิต เช่น เครื่องมือผ่าตัด เข็ม สายสวนปัสสาวะ.

chogan
Download Presentation

การทำลายเชื้อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ

  2. การแบ่งประเภทอุปกรณ์ทางการแพทย์การแบ่งประเภทอุปกรณ์ทางการแพทย์ • Critical item • Semicritical item • Noncritical item

  3. Critical item

  4. Critical items อุปกรณ์เครื่องมือต้องสอดใส่เข้าสู่เนื้อเยื่อปราศจากเชื้อ หรือกระแสโลหิตเช่น เครื่องมือผ่าตัด เข็ม สายสวนปัสสาวะ การทำให้ปราศจากเชื้อ ใช้น้ำยาทำลายเชื้อระดับสูง อบแก็ส อบไอน้ำ

  5. Semi - critical item

  6. Semicritical items อุปกรณ์เครื่องมือที่สัมผัสเยื่อบุของร่างกาย / ผิวหนังที่มีบาดแผล เช่น... อุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจ ดมยาสลบ Endoscope และปรอทวัดไข้ การทำลายเชื้อ Pasteurization น้ำยาทำลายเชื้อระดับสูง

  7. Noncritical items เครื่องมือ อุปกรณ์ที่สัมผัสผิวหนังที่ปกติ และไม่ได้สัมผัสเยื่อบุของร่างกาย เช่น... หม้อนอน เครื่องวัดความดัน เครื่องผ้า ภาชนะใส่อาหาร การทำลายเชื้อ น้ำยาทำลายเชื้อระดับต่ำ

  8. การทำความสะอาด cleaning

  9. การทำความสะอาด หมายถึง... การขจัดอินทรีสาร สิ่งสกปรก สิ่งปนเปื้อน ออกจากอุปกรณ์ เป็นขั้นตอนที่สำคัญมาก เป็นขั้นตอนแรกที่สำคัญมาก

  10. การล้างทำความสะอาด การล้างด้วยมือ การล้างด้วยเครื่อง สิ่งสำคัญที่สุด........ ต้องล้างคราบสบู่ / สารขัดล้างออกให้หมดจด

  11. ขั้นตอน... การทำความสะอาด

  12. อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้แล้ว ถือว่าแปดเปื้อนเชื้อโรค • การเคลื่อนย้าย ควรบรรจุอุปกรณ์ให้มิดชิด บริเวณล้างอุปกรณ์ เครื่องมือ ต้องดูแลให้สะอาด อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง หรือพิจารณาตามความจำเป็น

  13. 2. บุคลากรที่ทำหน้าที่ล้างเครื่องมือ ควรสวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ผ้ากันเปื้อน พลาสติก ถุงมือแว่นตา ผ้าปิดปาก - จมูก

  14. 3. ควร.... เลือกใช้สารขัดล้างให้เหมาะสม สารขัดล้างที่ผสม เอนไซม์ จะช่วยให้การขัดล้างง่าย

  15. 4. การล้างด้วยมือ • - นำเครื่องมือลงแช่ในน้ำผสมสารขัดล้าง เพื่อให้ล้างง่าย • ใช้แปรงขัดถูเครื่องมือทีละชิ้น ขณะขัดล้างเครื่องมือควรขัดใต้น้ำ • ล้างอุปกรณ์ด้วยน้ำไหลผ่านตลอด จนหมดคราบสารขัดล้าง • - เครื่องมือที่มีลักษณะเป็นท่อ เช่นสายสวน ต้องล้างภายในท่อให้ • สะอาดหมดจด จนน้ำไหลผ่านท่อ ใส

  16. 5. ล้างเครื่องมือด้วยความระวัง ผู้ทำหน้าที่ควรสวมถุงมืออย่างหนา ระมัดระวังการหยิบจับของมีคม ควรแยกเครื่องมือที่เปราะบาง ออกจากเครื่องมืออื่น เมื่อล้างเสร็จควรเช็ดให้แห้ง

  17. 6. อุปกรณ์พวกพลาสติกอาจเสีย / เสื่อมสภาพ จากการสัมผัสสารขัดล้างที่มีความเข้มข้นสูง เช่น alcohol ไม่ควรใช้กับอุปกรณ์พวกพลาสติก

  18. 7. การล้างกระบอกฉีดยาที่เป็นแก้ว ควรแยกกระบอกฉีดยา และลูกสูบออกจากกัน ล้างให้สะอาดด้วยมือ เพื่อขจัดคราบที่ติดอยู่ภายใน

  19. 8. ควรตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือที่ทำการล้างแล้ว ยังมีคราบสิ่งสกปรกติดอยู่หรือไม่ ตามซอกมุมต่างๆ

  20. การทำลายเชื้อ ( Disinfection )

  21. การทำลายเชื้อ หมายถึง... การกำจัดเชื้อบนอุปกรณ์ เครื่องมือ หรือบนพื้นผิวต่างๆ โดย .... การใช้สารเคมีการใช้วิธีการทางกายภาพ เช่น ความร้อน

  22. สารเคมีทำลายเชื้อ บนเครื่องมือ / บนพื้นผิวต่าง ๆ เรียกว่า น้ำยาทำลายเชื้อ ( disinfectants) บนผิวหนัง / ส่วนต่างๆของร่างกาย เรียกว่า ( antiseptic )

  23. ระดับการทำลายเชื้อ 3 ระดับ • ระดับสูง High level dis. • ระดับกลาง Intermediate level dis. • ระดับต่ำ low level dis. 3 ระดับ

  24. การทำลายเชื้อระดับสูงการทำลายเชื้อระดับสูง ใช้กับ.... อุปกรณ์กลุ่ม critical items ที่ทนความร้อนไม่ได้ พวกพลาสติก กล้องส่องตรวจอวัยวะภายใน โดยวิธี - อบแก็ส - แช่น้ำยาทำลายเชื้อระดับสูง ( วิธีการยุ่งยาก – ผิดพลาดง่าย )

  25. การทำลายเชื้อระดับกลางการทำลายเชื้อระดับกลาง ใช้กับ ......อุปกรณ์กลุ่ม semicritical items พวก อุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจ ปรอทวัดไข้ เช่น.... 70 – 90 % alcohol , chlorine compounds , iodophor

  26. การทำลายเชื้อระดับต่ำ ใช้กับ.....อุปกรณ์กลุ่ม noncritical items เช่น หม้อนอน , เครื่องวัดความดัน พวก Quaternary ammonium compounds

  27. แนวทางปฏิบัติในการทำลายเชื้อแนวทางปฏิบัติในการทำลายเชื้อ • ศึกษาคุณสมบัติ และวิธีใช้น้ำยาให้เข้าใจ • สวมอุปกรณ์ป้องกัน • ทำความสะอาดแล้วเช็ดให้แห้ง ก่อนนำไปแช่ในน้ำยาเพื่อมิให้ความเข้มข้นเปลี่ยน • แช่อุปกรณ์ให้ทั่วถึงโดยเฉพาะเป็นท่อ มีรูกลวง • แช่อุปกรณ์ในน้ำยาโดยใช้เวลานาน ตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด • การทำลายเชื้อควรทำในที่อากาศถ่ายเทสะดวก • ควรเตรียมน้ำยาใหม่ๆ และเก็บน้ำยาในที่เหมาะสม • อุปกรณ์ที่แช่น้ำยาแล้ว ต้องล้างน้ำยาออกให้หมด และทำให้แห้ง • ระวังมิให้ปนเปื้อนซ้ำอีกครั้ง

  28. น้ำยาทำลายเชื้อที่ใช้ในโรงพยาบาลน้ำยาทำลายเชื้อที่ใช้ในโรงพยาบาล • Alcohol • 2. Iodophors • 3. Chlorhexidine

  29. Alcohol - น้ำยาทำลายเชื้อระดับกลาง - ทำลาย เชื้อ bact. TB เชื้อรา ไวรัส แต่ทำลายสปอร์ Bact. ไม่ได้ - 50 % ประสิทธิภาพลดลงมาก - 60 – 90 % ประสิทธิภาพดี - 70 % ทำลายเชื้อได้ดี ประหยัด - การทำลาย HBV ใช้เวลา 15 นาที HIV " 1 นาที Bact. เชื้อรา " 10 นาที TB ไวรัสอื่นๆ " 15 นาที

  30. การทำลายเชื้อ ( Disinfection )

  31. การทำลายเชื้อ หมายถึง... การกำจัดเชื้อบนอุปกรณ์ เครื่องมือ หรือบนพื้นผิวต่างๆ โดย .... การใช้สารเคมี การใช้วิธีการทางกายภาพ เช่น ความร้อน

  32. สารเคมีทำลายเชื้อ บนเครื่องมือ / บนพื้นผิวต่าง ๆ เรียกว่า น้ำยาทำลายเชื้อ ( disinfectants) บนผิวหนัง / ส่วนต่างๆของร่างกาย เรียกว่า ( antiseptic )

  33. ระดับการทำลายเชื้อ 3 ระดับ • ระดับสูง High level dis. • ระดับกลาง Intermediate level dis. • ระดับต่ำ low level dis. 3 ระดับ

  34. การทำลายเชื้อระดับกลางการทำลายเชื้อระดับกลาง ใช้กับ ......อุปกรณ์กลุ่ม semicritical items พวก อุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจ ปรอทวัดไข้ เช่น.... 70 – 90 % alcohol , chlorine compounds , iodophor

  35. การทำลายเชื้อระดับต่ำ ใช้กับ.....อุปกรณ์กลุ่ม noncritical items เช่น หม้อนอน , เครื่องวัดความดัน พวก Quaternary ammonium compounds

  36. แนวทางปฏิบัติในการทำลายเชื้อแนวทางปฏิบัติในการทำลายเชื้อ • ศึกษาคุณสมบัติ และวิธีใช้น้ำยาให้เข้าใจ • สวมอุปกรณ์ป้องกัน • ทำความสะอาดแล้วเช็ดให้แห้ง ก่อนนำไปแช่ในน้ำยาเพื่อมิให้ความเข้มข้นเปลี่ยน • แช่อุปกรณ์ให้ทั่วถึงโดยเฉพาะเป็นท่อ มีรูกลวง • แช่อุปกรณ์ในน้ำยาโดยใช้เวลานาน ตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด • การทำลายเชื้อควรทำในที่อากาศถ่ายเทสะดวก • ควรเตรียมน้ำยาใหม่ๆ และเก็บน้ำยาในที่เหมาะสม • อุปกรณ์ที่แช่น้ำยาแล้ว ต้องล้างน้ำยาออกให้หมด และทำให้แห้ง • ระวังมิให้ปนเปื้อนซ้ำอีกครั้ง

  37. น้ำยาทำลายเชื้อที่ใช้ในโรงพยาบาลน้ำยาทำลายเชื้อที่ใช้ในโรงพยาบาล • Alcohol • 2. Iodophors • 3. Chlorhexidine

  38. Alcohol - น้ำยาทำลายเชื้อระดับกลาง - ทำลาย เชื้อ bact. TB เชื้อรา ไวรัส แต่ทำลายสปอร์ Bact. ไม่ได้ - 50 % ประสิทธิภาพลดลงมาก - 60 – 90 % ประสิทธิภาพดี - 70 % ทำลายเชื้อได้ดี ประหยัด - การทำลาย HBV ใช้เวลา 15 นาที HIV " 1 นาที Bact. เชื้อรา " 10 นาที TB ไวรัสอื่นๆ " 15 นาที

More Related