1 / 25

การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง จังหวัดอ่างทอง

การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง จังหวัดอ่างทอง. ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี. พฤติกรรม - อ้วน - ออกกำลังกาย. สภาพปัญหา. โรคเรื้อรัง - เบาหวาน - ความดันโลหิตสูง - หัวใจหลอดเลือด. สาเหตุ. นำสู่. ยุทธศาสตร์การสาธารณสุข จ.อ่างทอง.

Download Presentation

การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง จังหวัดอ่างทอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุงการขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง จังหวัดอ่างทอง ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี

  2. พฤติกรรม - อ้วน - ออกกำลังกาย สภาพปัญหา โรคเรื้อรัง - เบาหวาน - ความดันโลหิตสูง - หัวใจหลอดเลือด สาเหตุ

  3. นำสู่ ยุทธศาสตร์การสาธารณสุข จ.อ่างทอง 1. การบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ 2. การสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ 3. การพัฒนาสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ และการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ 4. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน 5. การสร้างสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 6. การสร้างระบบสุขภาพ ชุมชนให้เข้มแข็ง

  4. กรอบการดำเนินงาน INPUT PROCESS OUTPUT  งบประมาณ - สสจ. - สสส. - สปสช. - ท้องถิ่น  บุคลากร - วิทยากร  1.เฝ้าระวัง  2.ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม - กลุ่มปกติ - กลุ่มเสี่ยง - กลุ่มอ้วนลงพุง  3.สร้างกระแสรณรงค์  4.เครือข่าย ลดโรค ลดอ้วน ลดพุง

  5. กลยุทธ์ : 1.เฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุง ปี 2550 เฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในหน่วยงานราชการ โรงเรียน และ ชมรมสร้างสุขภาพ - หน่วยงานราชการ เกินเกณฑ์32.02% - นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เกินเกณฑ์12.74 % - ชมรมสร้างสุขภาพเกินเกณฑ์25.55 % ปี 2551 เฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุงในหน่วยงานราชการ โรงเรียน ชมรมสร้างสุขภาพ และประชาชน ครอบคลุมทั้งจังหวัด

  6. กลยุทธ์ : 2.สร้างกระแสการรณรงค์ เปิดตัวโครงการรณรงค์ “คนชะไว ไร้พุง” โดยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง สาธารณสุข (นพ.มรกต กรเกษม) วันที่ 8 มิถุนายน 2550 ณ มัสยิดอัลยุสรอสามัคคี ต.ชะไว อ.ไชโย

  7. เปิดตัวโครงการคนไทยไร้พุงจังหวัดอ่างทองเปิดตัวโครงการคนไทยไร้พุงจังหวัดอ่างทอง โดยวัดรอบเอวผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง และหัวหน้าส่วนราชการในจังหวัด เมื่อวันที่ 30 ส.ค. 50

  8. จัดงาน สร้างวัฒนธรรมสุขภาพพอเพียง สู่สังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน เทิดไท้องค์ราชัน

  9. โครงการจังหวัดอ่างทอง ไร้พุง ถวายพ่อหลวง พ.ศ.2551 – 2552 จัดงานวันที่ 14 มี.ค. 51 ผู้ร่วมงานประมาณ 600 คน กิจกรรม - ประกาศนโยบายระดับจังหวัดร่วมกับ กระทรวงโดยรัฐมนตรีว่าการฯ - ลงนามความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย เพื่อการป้องกันโรคอ้วนลงพุง

  10. การประกาศนโยบาย “ คนไทย ไร้พุง ”จังหวัดอ่างทองโดย รมว.กระทรวงสาธารณสุขนายไชยา สะสมทรัพย์ 14 มีนาคม 2551

  11. ตั้งเป้าลดอ้วน 3 ล้านคน เผยหญิงอ้วนกว่าชาย 3 เท่า • “ไชยา” ออกนโยบายเร่งลดภัยจากโรคอ้วน ให้ทุกจังหวัดทำองค์กรต้นแบบไร้พุง ในปี 2551 นี้ มุ่งลดอ้วนให้ได้ 3 ล้านคน เริ่มที่อ่างทองเป็นแห่งแรก เผยรอบ 5 ปี พิษความอ้วนทำให้คนไทยป่วยเป็นโรคหัวใจ เบาหวาน มะเร็ง สูงขึ้นกว่า 2 เท่าตัว ในปี 2549 มีคนไทยเสียชีวิตจาก 3 โรคนี้เกือบ 1 แสนราย เฉลี่ย 1 รายทุก 6 นาที ขณะนี้มีคนอ้วนลงพุงมากถึง 17 ล้านคน ผู้หญิงอ้วนมากกว่าชาย 3 เท่าตัว แหล่งข่าว : หนังสือพิมพ์ ผู้จัดการ โพสต์เมื่อ : 2008-03-15

  12. กลยุทธ์ : 3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และแก้ไขอ้วนลงพุง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และกลุ่มข้าราชการ ภายหลังตรวจสุขภาพประจำปี โดยโรงพยาบาลทุกแห่ง

  13. ส่งบุคลากรทีมโรงพยาบาลแสวงหาที่อ้วนลงพุง จำนวน 6 คน เข้าร่วมกิจกรรม “ค่ายพิชิตอ้วน พิชิตพุง” ซึ่งจัดโดยกรมอนามัย ร่วมกับ บริษัท อสมท.จำกัด (มหาชน) ระหว่างวันที่ 29 มิ.ย. – 1 ก.ค. 50ภายหลังการเข้าค่าย 2 เดือน ทีมได้รับการคัดเลือกเป็น “The Winner คนไทยไร้พุง คนต้นแบบชุดแรกของ ประเทศไทย”

  14. จัดค่าย “พิชิตอ้วน พิชิตพุง” ระหว่างวันที่ 17 – 19 กันยายน 50 ณ โรงแรมสีดา รีสอร์ท จังหวัดนครนายก จำนวน 75 คน ประกอบด้วย - จนท.สาธารณสุขที่อ้วนลงพุง 40 คน - อสม.ที่อ้วนลงพุง 35 คน

  15. การประเมินผล รอบพุง น้ำหนัก ลดลงมากที่สุด 18 กก. เพิ่มมากที่สุด 1.6 กก. ลดลงเฉลี่ย 4.4 กก. ลดลงมากที่สุด 22 ซ.ม. เพิ่มมากที่สุด 1 ซ.ม. ลดลงเฉลี่ย 8.6 ซ.ม.

  16. โครงการข้าราชการต้นแบบ “พิชิตอ้วน พิชิตพุง” ข้าราชการระดับจังหวัด ที่มีรอบพุงมากเกินเกณฑ์ จำนวน 60 คน เข้าค่ายลดอ้วนลดพุง วันที่ 7 - 9 พฤศจิกายน 2550 ณ โรงแรมภูเขางาม รีสอร์ท จังหวัดนครนายก

  17. การประเมินผล รอบพุง น้ำหนัก ลดลงมากที่สุด 16.2 กก. เพิ่มมากที่สุด 0.8 กก. ลดลงเฉลี่ย 2.9 กก. ลดลงมากที่สุด 22 ซ.ม. เพิ่มมากที่สุด 2 ซ.ม. ลดลงเฉลี่ย 7.7 ซ.ม.

  18. โครงการลดพุง 80 ราย ถวายพ่อหลวง ภายใต้โครงการรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อพ่อ ระดับจังหวัด ระยะที่ 1 อ.วิเศษชัยชาญ 40 ราย อ.ป่าโมก 40 ราย

  19. การวิเคราะห์ต้นทุน - ประสิทธิผล กรณีศึกษา โครงการลดพุง 80 ราย ถวายพ่อหลวง จังหวัดอ่างทอง โดย ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ

  20. ผลการศึกษา ต้นทุนเฉลี่ยต่อคนที่ลดน้ำหนักได้ โปรแกรมลดน้ำหนักแบบเข้าค่ายมีต้นทุน 4192 บาท สูงกว่าโปรแกรมกรมอนามัยที่มีต้นทุน 3310บาท อยู่ 891บาทต่อราย โดยมีต้นทุนประสิทธิผลสูงกว่า 1121 บาทต่อราย

  21. กลยุทธ์ : 4.พัฒนาบุคลากร พัฒนาโรงพยาบาลแม่ข่ายฝ่าวิกฤตพิชิตอ้วน พิชิตพุง เพื่อพัฒนาให้เกิดโรงพยาบาลแม่ข่ายที่มีศักยภาพในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ที่ถูกต้องแก่บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนในชุมชน รวมทั้งแก้ปัญหาที่เกิดจากภาวะอ้วนลงพุงอย่างมีประสิทธิภาพ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2550 กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จำนวน 110 คน

  22. จัดอบรมวิทยากร ค่ายพิชิตอ้วน พิชิตพุง เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ และทักษะในการเป็นวิทยากรแก้ไขภาวะอ้วนลงพุง วันที่ 25 – 26 มี.ค. 51 ทีมวิทยากร อำเภอละ 10 คน รวม 70 คน

  23. แผนการดำเนินงาน ในระยะต่อไป

  24. โครงการคนอ่างทองรุ่นใหม่ ไร้อ้วน ไร้พุง จัดค่ายพิชิตอ้วน พิชิตพุง ในประชาชนที่อ้วนลงพุง หมู่บ้าน/ชุมชนละ 3 คน รวม 1,600 คน ผลักดันให้ท้องถิ่นเป็นเจ้าภาพในการดำเนินงาน ภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง

  25. สวัสดี

More Related