1 / 27

มาตรฐานอาหารเพื่อความยั่งยืน ของ สินค้ามาตรฐานสหกรณ์

เรื่อง. มาตรฐานอาหารเพื่อความยั่งยืน ของ สินค้ามาตรฐานสหกรณ์. โดย ดร.สุภกรรณ จันทวงษ์. กรอบนำเสนอ. ความเข้าใจเรื่องมาตรฐาน ความสัมพันธ์มาตรฐาน กับความยั่งยืนทางการค้า ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักมาตรฐานด้านอาหาร เพื่อรับใช้สังคม. ความเข้าใจเรื่องมาตรฐาน.

Download Presentation

มาตรฐานอาหารเพื่อความยั่งยืน ของ สินค้ามาตรฐานสหกรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เรื่อง มาตรฐานอาหารเพื่อความยั่งยืนของสินค้ามาตรฐานสหกรณ์ โดย ดร.สุภกรรณ จันทวงษ์

  2. กรอบนำเสนอ • ความเข้าใจเรื่องมาตรฐาน • ความสัมพันธ์มาตรฐาน กับความยั่งยืนทางการค้า • ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • หลักมาตรฐานด้านอาหาร เพื่อรับใช้สังคม

  3. ความเข้าใจเรื่องมาตรฐานความเข้าใจเรื่องมาตรฐาน • ความหมายของมาตรฐาน • องค์ประกอบกระบวนการเพื่อผลผลิตมาตรฐาน • ประโยชน์ของมาตรฐาน • เทคนิค เพื่อส่งเสริมปฏิบัติการเพื่อมาตรฐานผลผลิต

  4. ความหมายของมาตรฐานยั่งยืนความหมายของมาตรฐานยั่งยืน • มาตรฐาน หมายความว่า สิ่งที่ถือเอาเป็นหลักสำหรับเทียบกำหนด • ยั่งยืน หมายความว่า สิ่งที่อยู่นาน คง ทนทาน

  5. ความสัมพันธ์มาตรฐาน กับความยั่งยืนทางการค้า ความยั่งยืนเชิงหลักปรัชญา • เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ • เพราะเข้ากับเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ที่ยอมรับระหว่างกัน • เพราะเข้ากับความรู้สึกของสังคม • ผู้ผลิตพึงพอใจ ผู้ใช้ประโยชน์ชอบใจ และสังคมยอมรับ

  6. ยั่งยืน: เชิงการค้า/ธุรกิจ • จำเป็นแท้ - จำเป็นอย่างเหมาะสมกับเศรษฐฐานะ - ต้องใช้ • จำเป็นเท่ - ได้ใช้หลังรู้สึกดี - ต้องหามาใช้

  7. ลักษณะที่จะนำไปสู่ความยั่งยืนลักษณะที่จะนำไปสู่ความยั่งยืน ความคิดสร้างสรรค์ • เศรษฐกิจแบบสร้างสรรค์ ภายใต้ปรัชญาพอเพียง • เข้ากับมาตรฐานจำเพาะ • เข้ากับมาตรฐานทั่วไป บูรณาการความเชื่อถือ • ชุมชน/สังคมของผู้ผลิต เชื่อถือต่อสิ่งนั้น • ชุมชน/สังคมนานาชาติ เชื่อถือต่อสิ่งนั้น

  8. หลักการทั่วไปด้านมาตรฐานหลักการทั่วไปด้านมาตรฐาน • กฎหมายมาตรฐานขั้นต่ำสุดของสังคมและใช้เท่าเทียมทั้งสังคม • มาตรฐานกฎหมายต้องถือปฏิบัติก่อน • สังคมหนึ่งต้องมีมาตรฐานเดียว • ค่าเกณฑ์และวิธีวัดค่าของมาตรฐาน ต้องอ้างอิงหลักวิชาการ • วิธีอันชอบเพื่อมาตรฐานมีได้หลากหลาย • ต้องเปลี่ยนแปลงได้ • มาตรฐานทางวิชาการย่อมใช้ได้ในมวลหมู่ผู้ยอมรับในมาตรฐานนั้น

  9. มาตรฐานเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคมาตรฐานเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค • มาตรฐานเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคมีมาตรฐานเดียว • มาตรฐานที่กฎหมายกำหนดต้องปฏิบัติก่อนเป็นมาตรฐานบังคับ • หากมีข้อมูลเพื่อเพิ่มประโยชน์รวม ย่อมต้องปรับเปลี่ยน • มาตรฐานอื่นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ต้องไม่ต่ำกว่ามาตรฐานกฎหมาย และอ้างอิงวิชาการอย่างชัดแจ้ง • มาตรฐานอื่นเป็นมาตรฐานสมัครใจ เพื่อการพัฒนาหรือประโยชน์เฉพาะอื่นๆ • มาตรฐานคุ้มครองผู้บริโภคจะมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ สถานที่ผลิต และกระบวนการผลิต รวมการเก็บรักษาการขนส่ง หรือเพื่อการส่งมอบ • พึงบูรณาการมาตรฐาน ความรู้ ทัศนคติ ความสามารถในการปฏิบัติ ระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง

  10. หลักมาตรฐาน อย. • มาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑ์ • มาตรฐานสถานที่ผลิต • มาตรฐานกระบวนการผลิต • มาตรฐานการโฆษณา วัตถุประสงค์: >> ความปลอดภัย >> ความสมประโยชน์ใช้ >> อ้างอิงแก่สินค้าทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ

  11. หลักมาตรฐาน มผช. • มาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑ์ • มาตรฐานวิชาการ วัตถุประสงค์ มผช. >> ความปลอดภัย >> การใช้ประโยชน์ >> ส่งเสริมผลทางการค้าภายในประเทศ >> มาตรการพัฒนา

  12. หลักคิดพื้นฐานทางเทคนิคมาตรฐานหลักคิดพื้นฐานทางเทคนิคมาตรฐาน • สะอาด • เป็นระเบียบ

  13. หลักคิดพื้นฐานว่าด้วยความสะอาดหลักคิดพื้นฐานว่าด้วยความสะอาด สะอาด = อยู่ในเกณฑ์กรอบที่กำหนดว่าด้วย • ชีวะสมบัติ • เคมีสมบัติ • กายภาพสมบัติ

  14. หลักว่าด้วยความสะอาด : เป้าหมายที่วัดค่า • สถานที่ผลิต รวมถึงบุคลากร วัสดุอุปกรณ์ในการผลิต • ผลิตภัณฑ์ รวมถึงภาชนะบรรจุ ฉลาก สิ่งประกอบอื่นๆ • สิ่งแวดล้อม

  15. หลักพื้นฐานว่าด้วยความเป็นระเบียบหลักพื้นฐานว่าด้วยความเป็นระเบียบ • สถานที่ผลิต การก่อสร้าง วัสดุที่ใช้ติดตั้ง วัสดุอุปกรณ์ วิธีปฏิบัติบำรุงรักษา วิธีปฏิบัติในขั้นตอนของบุคคล • ผลิตภัณฑ์: คู่มือการผลิต ตั้งแต่คัดเลือกวัตถุดิบ ขั้นตอนการผลิตที่สอดสานต่อเนื่องเป็นกระแส การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ การเก็บรักษา การส่งมอบ

  16. หลัก‘ไทย’ว่าด้วยหลักมาตรฐานหลัก‘ไทย’ว่าด้วยหลักมาตรฐาน • เป็นที่เป็นทาง • หยิบง่าย หายรู้ • ดูตามตา • ศิษย์มีครู : อ้างอิงวิชาการโดยเป็นวิทยาศาสตร์

  17. เทคนิคด้านมาตรฐาน • กระบวนการผลิตมาตรฐาน • กระบวนการจัดการวัตถุดิบ • กระบวนการประกอบ‘ผลิตภัณฑ์’ • กระบวนการประเมิณคุณภาพ • การขนส่งหรือส่งมอบที่ดี

  18. เกณฑ์/ค่ามาตรฐาน วิธีวัด/ประเมิณ ที่ยอมรับ วัดประเมิน บุคคล/องค์กร วัด/รับรองผล วัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้วัด

  19. คุณลักษณะพื้นฐานการผลิตภัณฑ์อาหารสหกรณ์คุณลักษณะพื้นฐานการผลิตภัณฑ์อาหารสหกรณ์ • เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน • ใช้วัตถุดิบท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ • เพื่อตลาดท้องถิ่นภายในประเทศ • เพื่อตลาดเทศกาล • ใช้แรงงานสมาชิกและบุคคลในท้องถิ่น • ใช้เทคโนโลยีดั้งเดิมและประยุกต์ระดับต้น

  20. คุณลักษณะพื้นฐานผลิตภัณฑ์อาหารสหกรณ์คุณลักษณะพื้นฐานผลิตภัณฑ์อาหารสหกรณ์ • อายุสั้น/บรรจุภัณฑ์อย่างง่าย/รับประทานทันที • อาหารวัฒนธรรมท้องถิ่น

  21. SWOT อาหารสหกรณ์ คุณลักษณะเด่น(Strong)ของอาหารสหกรณ์ • อาหารวัฒนธรรมถิ่น รักษากลิ่นอายการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ • มีความหลากหลายของรูปแบบ • เป็นภูมิปัญญาแฝงที่เข้มแข็ง • ยอมรับการดัดแปลงแทรกเสริมได้สูง ความเห็น: รักษาและเสริมมูลค่าเพิ่ม

  22. คุณลักษณะด้อย(Weak)ของอาหารสหกรณ์ คุณลักษณะด้อย(Weak)ของอาหารสหกรณ์ • ผลิตได้จำกัด/ทุนเทคโนโลยีจำกัด • ผลิตมากขึ้นจะมีคุณภาพเสี่ยงมากขึ้น • มีความนิยมจำกัดเขต • ต้นทุนต่อหน่วยสูง มีพลังแข่งขันการค้าทั่วไปต่ำ • ผลิตด้วยแรงงานบุคคล ข้อแนะนำ: OTOP/KBO/KAPชุมชน

  23. ปัจจัยคุกคาม(Threat)ต่ออาหารสหกรณ์ปัจจัยคุกคาม(Threat)ต่ออาหารสหกรณ์ • ตลาดวัดคุณภาพมาตรฐานอย่างเข้มข้น • เทคโนโลยีเพื่อการผลิตยังไม่มั่นคงพอ • องค์ความรู้การผลิตยังไม่มั่นคงพอ • ความเร่งรัดที่เกิดรุนแรงและเปลี่ยนแปลงเร็ว • ความมั่นใจสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องไม่สูงพอ • ผลิตภัณฑ์อาหารเทคโนโลยีโลกาภิวัตช่วงชิงความได้เปรียบแบบรวบรัด ความเห็นเพื่อพัฒนา: นโยบายรัฐบาลชัดเจนต่อเนื่อง ทั้งระดับกฏหมายและระดับข้อตกลงหรือโครงการ

  24. ปัจจัยแห่ง(Opportunity)ของอาหารสหกรณ์ปัจจัยแห่ง(Opportunity)ของอาหารสหกรณ์ • สังคมโลกตระหนักถึงการคงอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติอย่างเกื้อกูลทั้ง การสร้าง การรักษา การใช้ประโยชน์เชิงอาหาร • สังคมไทยตื่นตัว และมั่นใจในอัตลักษณะไทยมากขึ้น • ความพร้อมของปัจจัยพื้นฐานด้านอาหารของไทยมีอยู่อย่างเพียงพอ • แนวคิดไทยคือครัวโลก ได้รับการยอมรับว่าเป็นจริงได้ • องค์ความรู้เทคโนโลยี การตลาด ผ่านระบบเครือข่ายช่วยได้ • มีความชัดเจนเชิงแนวนโยบายแห่งรัฐ เชิงพัฒนาส่งเสริมที่ชัดเจนยิ่งขึ้น อาทิ พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน2548, พรบ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ 2551, ข้อตกลงFTAที่มีขั้นตอนพัฒนาศักยภาพของประเทศควบคู่ด้วย ความเห็นเชิงพัฒนา: บูรณาการระบบอาหาร ด้วยการจัดการที่ดี/พูดหรือกล่าวแต่ที่เป็นมติรวม/คำนึงความเป็นระบบอย่างหนักแน่น

  25. แนวคิดหลักธุรกิจอนาคตแนวคิดหลักธุรกิจอนาคต หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • พอประมาณ • มีเหตุมีผล • มีภูมิคุ้มกัน กอปรด้วย • คุณธรรม • ภูมิปัญญา

  26. แนวคิดแบบวิทยาศาสตร์กับอาหารสหกรณ์แนวคิดแบบวิทยาศาสตร์กับอาหารสหกรณ์ • วิทยาศาสตร์ คือ องค์ความรู้ที่เป็นตัวช่วย • ความรู้ไม่แยกพวกหรือฝ่าย แต่เป็นเงื่อนไขระหว่างกันที่มีประสิทธิภาพ • เป็นมาตรฐานที่อ้างอิงได้หนักแน่นและมั่นคง = วิทยาศาสตร์ไม่แยกฝ่าย =

  27. ผลของวิทยาศาสตร์อาจแยกฝ่ายผลของวิทยาศาสตร์อาจแยกฝ่าย • เชื่อ ปฏิบัติ พัฒนา • ไม่เชื่อ ต่อต้าน พัฒนา • เฉย เฉย เฉย

More Related