1 / 47

การรับรู้ ( Perception )

การรับรู้ ( Perception ). โดย พระมหาเผื่อน กิตฺ ติ โสภโณ. องค์ประกอบการรับรู้. สิ่งเร้า( Stimulus ) ได้แก่ วัตถุ แสง เสียง กลิ่นรส ต่างๆ อวัยวะรับสัมผัส( Sensory organs ) ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง ประสาทรับสัมผัส( Receptor s ) ประสบการณ์เดิมหรือข้อมูลเดิม( Previous experience )

ciqala
Download Presentation

การรับรู้ ( Perception )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การรับรู้(Perception) โดย พระมหาเผื่อน กิตฺติโสภโณ

  2. องค์ประกอบการรับรู้ • สิ่งเร้า(Stimulus) ได้แก่ วัตถุ แสง เสียง กลิ่นรส ต่างๆ • อวัยวะรับสัมผัส(Sensory organs) ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น ผิวหนัง • ประสาทรับสัมผัส(Receptors) • ประสบการณ์เดิมหรือข้อมูลเดิม(Previous experience) • ความสนใจ ความตั้งใจ(Attention) • ทัศนคติ(Attitude) ค่านิยม(Values)ในการรับรู้ • สภาพจิตใจ อารมณ์ (Emotion)เช่น ความคาดหวัง ความดีใจ เสียใจ ในขณะเกิดการรับรู้ • ความสามารถทางสติปัญญา(Mental abilities)

  3. กระบวนการการรับรู้ • ระดับกระบวนการรับรู้ในการทำงาน • การวิเคราะห์ระดับพลังงานจิตฟิซิกส์ กระบวนการนี้เกี่ยวกับระดับความเข้มข้นของสิ่งเร้า เช่น แสง เสียง กลิ่น รส แรงกด ที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ • กระบวนการคิดที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ เกี่ยวข้องกระบวนการทางความคิด(cognitive process) ในการจัดการกับข้อมูลที่ผ่านเข้ามาทางประสาทสัมผัส

  4. กระบวนการการรับรู้

  5. เทรชโฮลท์(Treshold)การรับรู้เทรชโฮลท์(Treshold)การรับรู้ • เทรชโฮลด์สมบูรณ์ (Absolute threshold)คือ ปริมาณของสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้นที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดความรู้สึก สามารถเปลี่ยนแปลงไปตามระดับความเข้มของสิ่งเร้า และขึ้นกับสิ่งแวดล้อมที่เราเกี่ยวข้องด้วย ความแตกต่างระหว่างบุคคลก็มีส่วนเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยในการตัดสินเรื่อง Absolute threshold ด้วย เนื่องจากอวัยวะที่รับความรู้สึกของแต่ละบุคคลนั้น มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมที่ไม่เหมือนกัน • เทรชโฮลด์ความแตกต่าง (Differential thershold)คือความเปลี่ยนแปลงที่น้อยที่สุดของสิ่งเร้า ซึ่งทำให้เกิดความรู้สึกว่าสิ่งเร้านั้นมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเข้มเดิมของสิ่งเร้า หากความเข้มเดิมต่ำกว่าการเปลี่ยนค่าความเข้มเพียงเล็กน้อย จะทำให้เกิดความรู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลงได้ เราเรียกจุดที่ทำให้คนรู้สึกความเปลี่ยนแปลงของสิ่งเร้านี้ว่า JND (Just Noticeable Difference)

  6. การมองเห็น(visual Sensation) • สิ่งที่ตารับสัมผัสคือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(Electromagnetic disturbance) ที่เรียกว่า โฟตอน ที่มีช่วงความถี่ที่ตาสามารถรับรู้ได้หรือที่เรียกว่า คลื่นแสง(Wavelength) คลื่นแสงดังกล่าวนี้มีสีแตกต่างกันไปตามความถี่ • ความสูง(Amplitude)ของคลื่นแสงบ่งบอก ความสว่าง(Brightness) ความกว้างของคลื่น เป็นตัวหนด สี(Color) และความบริสุทธิ์(Purity)ของสี เป็นตัวกำหนด ความสดใส(Saturation) • เซล์ประสาทรับภาพ(visual receptor)ที่บริเวณเรตินาของดวงตาประกอบด้วยเซลล์รอด(Rods) ไม่ตอบสนองต่อสี ทำงานในสภาพแสงน้อย และเซลล์โคน(Cones) ตอบสนองต่อสี ทำงานในสภาพที่มีแสงเพียงพอ

  7. Visible spectrum

  8. การรับรู้ทางตา(Visual sensation)

  9. การรับรู้เสียง(Auditory Sensation) • สิ่งที่หูเราได้ยินคือ คลื่นเสียง(Sound wave) หรือการสั่นสะเทือนของโมเลกุลในอากาศที่อยู่รอบตัวเรา • คุณสมบัติของคลื่นเสียงประกอบด้วย ความดัง(Amplitude) ความถี่(Frequency or Pitch) และความบริสุทธิ์(Timbre) • ความดังของเสียงมีหน่วยเป็น เดซิเบล(Decibel) ความถี่ของเสียงมีหน่วยเป็น เฮิรตซ์(Hertz)

  10. โครงสร้างหู

  11. การรู้รสGustatory Sensation

  12. โครงสร้างลิ้น

  13. The five basic tastes • ขม(Bitter) • เปรี้ยว(Sour) • เค็ม(Salty) • หวาน(Sweet) • Umami

  14. การสัมผัสกลิ่นOlfactory Sensation

  15. Bodily Sensation

  16. การรู้สัมผัส แรงกดและอุณหภูมิ

  17. กระบวนการการรับรู้ • ขั้นเลือก(Selection) • การบันทึกการเห็น • การบันทึกการได้ยิน • การแปลงสัญญาณ(Transduction) • กระบวนการจัดระบบ(Organization Process) • ขั้นแปลงหรือตีความหมาย(Interpretation)

  18. การทดลองเกี่ยวกับการบันทึกการเห็นการทดลองเกี่ยวกับการบันทึกการเห็น • ปี 1960 จอร์จสเปอริง(GeorgeSperling) ได้ทดลองฉายภาพแถวตัวอักษรให้ปรากฏด้วยเวลาน้อยกว่า 500 มิลลิวินาที(1วินาที= 1,000มิลลิวินาที) พบว่า ผู้ถูกทดลองจำอักษรได้ประมาณ 4 ตัว จากนั้นเพิ่มเวลาขึ้นจาก 15 เป็น 500 มิลลิวินาที เพิ่มจำนวนตัวอักษรจาก 4 เป็น 12 ตัว พบว่า ผู้ถูกทดลองจำได้ประมาณ 4 อักษร จากได้ใช้วิธีให้ผู้ถูกทดลองรายงานชุดตัวอักษรหนึ่งในหลายชุดที่ฉายพร้อม พบว่า ผู้ถูกทดลองรายงานได้ 3 ใน 4 ของแถว และจะน้อยลงหากทิ้งเวลานานระหว่างการเห็นและการรายงาน • การทดลองของสเปอริงสรุปว่า ข้อมูลการมองเห็นจะถูกเก็บไว้เป็นเวลา 0.5 วินาที หากไม่มีการนำมาใช้ใหม่จะเสื่อมสลายไปจากระบบความจำสัมผัส(Sensory memory)

  19. การทดลองเกี่ยวกับการบันทึกการได้ยินการทดลองเกี่ยวกับการบันทึกการได้ยิน • ปี 1972 ดาร์วินทรูวีและโครว์เดอร์(Darwin Turwey and Crowder,1972) ได้ทำการทดลองการบันทึกการได้ยินโดยให้ผู้ถูกทดลองฟังเสียงตัวเลขและตัวอักษรที่มาจาก 3 แหล่ง คือ หูซ้าย หูขวา และหลังศีรษะ โดยทิ้งเวลาช้าลง 0-4 วินาทีเพื่อให้ผู้ถูกทดลองรายงานเสียงที่มาจากแหล่งใดแหล่งหนึ่ง • ผลการทดลองสอดคล้องกับของสเปอริงคือหากปล่อยเวลานานขึ้น ความสามารถในการจำจะลดลง โดยความจำในรูปของเสียงสะท้อนจะเสื่อมไปจากความจำระบบรับสัมผัสภายใน 3 วินาที หากไม่มีการดำเนินการใดๆ

  20. การจัดหมวดหมู่การรับรู้(Perceptual Organization)

  21. กฎแห่งความคล้ายคลึงกัน(Law of similarity) • สิ่งเร้าที่มีลักษณะเหมือนกันจะถูกรับรู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกัน

  22. กฎแห่งความง่าย(Law of Pragnanz) • สิ่งเร้าจะถูกจัดระเบียบเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายมากที่สุด

  23. กฎแห่งความชิดกัน(Law of Proximity) • สิ่งเร้าที่อยู่ชิดกันจะถูกรับรู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกัน

  24. กฎแห่งความต่อเนื่อง(Law of Continuity) • สิ่งเร้าที่ปรากฏต่อเนื่องในทิศทางเดียวกันถูกมองว่าเป็นกลุ่มเดียวกัน

  25. กฎแห่งภาพใกล้สมบูรณ์(Law of Closure) • เรามีแนวโน้มที่จะเจิมภาพส่วนที่ขาดหายไปให้สมบูรณ์เพื่อให้เกิดความหมาย

  26. ความคงที่ในการรับรู้รูปร่าง(Shape constancy)

  27. ความคงที่ในการรับรู้ขนาด(Size constancy)

  28. ความคงที่ในการรับรู้ความสว่าง(brightness constancy)

  29. ความคงที่ในการรับรู้ความพลิกผัน(Orientation constancy)

  30. การรับรู้ความลึก(Depth perception การรับรู้ความลึก คือ ความสามารถในการมองโลกในแบบ 3 มิติ หากปราศจากความสามารถดังกล่าวนี้เราจะไม่สามารถรับรู้ได้ว่าวัตถุต่างๆอยู่ห่างจากรู้มากแค่ไหน การรู้ความลึกเริ่มพัฒนาตั้งแต่วัยเริ่มต้นของชีวิต คนที่ตาบอกตั้งแต่เกิดและกลับมองเห็นได้อีกครั้ง ต้องต้องพัฒนาการรับรู้ความลึกใหม่เหมือนเด็กเล็ก. การรับรู้ความลึกอาศัยสัญญาณบอกความลึก(Cues) ซึ่งเป็นออกเป็นสัญญาณบ่งบอกความลึกสำหรับการมองด้วยตาข้างเดียว(monocular cues), และสัญญาณบ่งบอกความลึกสำหรับการมองด้วยตาสองข้าง(binocular cues).

  31. สัญญาณบ่งบอกความลึกสำหรับการมองด้วยตาสองข้าง(Binocular cues) • การเบนเข้าหากันของลูกตา(Convergence) การเบนเข้าหากันของตาสองข้างเพื่อโฟกัสวัตถุ หากวัตถุอยู่การเบนเข้าหากันก็จะมากขึ้น หากวัตถุอยู่หางออกไปการเบนเข้ากันก็จะน้อย • ความแตกต่างกันของการมองจากตาสองข้าง(Binocular disparity) คือความแตกต่างของภาพที่เกิดจากการมองเห็นของตาแต่ละข้าง ซึ่งวัตถุที่อยู่ใกล้จะมีขนาดใหญ่ขึ้นและวัตถุที่อยู่ไกลจะมีขนาดเล็กลง

  32. สัญญาณบ่งบอกความลึกสำหรับการมองด้วยข้างเดียว(Monocular cues) • การบรรจบการของเส้นตรง(Linear perspective) • ขนาดที่อยู่ใกล้จะมีขนาดใหญ่ วัตถุที่อยู่ห่างออกไปมีขนาดเล็กลดหลั่นสัมพันธ์กัน (Relative size) • การทับซ้อนกันของวัตถุ(Overlap) • วัตถุที่อยู่ห่างออกไปมีรายละเอียดน้อยกว่าวัตถุที่อยู่ใกล้กว่า(Aerial (atmospheric) perspective) • วัตถุที่อยู่ใกล้มีขนาดใหญ่ วัตถุที่อยู่ไกลมีขนาดเล็กTexture gradient • วัตถุที่อยู่ใกล้ดูเหมือนจะเคลื่อนไหวช้ากว่าวัตถุที่อยู่ในระยะไกล(Motion parallax) • กระจกตาจะเปลี่ยนรู้ให้หนาหรือบางเพื่อมองวัตถุที่อยู่ใกล้หรือไกลได้ชัดและสมองใช้การเปลี่ยนนี้เป็นตัวสัญญาณการบอกความลึก(Accommodation or muscular cue)

  33. Perceptual illusion Hermann’s grid

  34. Muler-illusion

  35. วิธีการศึกษาการรับรู้วิธีการศึกษาการรับรู้

  36. ทฤษฎีการรับรู้ของเฮล์มโฮลท์ทฤษฎีการรับรู้ของเฮล์มโฮลท์ • เฮอร์มัน วอน เฮล์มโฮล อธิบายว่า การรับรู้เป็นผลผลิตทั้งของธรรมชาติและการฝึกฝน และการรับรู้ส่วนใหญ่เกิดขึ้นนอกเหนือภาวการณ์มีสติรู้ตัว ที่เขาเรียกว่า Unconscious inference • เฮล์มโฮล แบ่งการรับรู้ออกเป็น 2 ขั้นตอนคือ • ขั้นวิเคราะห์ คือ การที่ประสาทสัมผัสวิเคราะห์โลกภายนอก ซึ่งเป็นการรับรู้ระดับพื้นฐาน • ขั้นสังเคราะห์ คือ การบูรณาการและรวบรวมหน่วยข้อมูลของการรับรู้เข้าไปในระบบ ทฤษฎีนี้นำเสนอแนวคิดว่า มนุษย์เรียนรู้การแปรผลความรู้สึกจากประสบการณ์เดิม โดนการแปรผลเป็นการคาดหวังจากการรู้ที่มีอยู่เดิม

  37. ทฤษฎีการรับรู้ของเกสตัลท์(Gestalt’s Perceptual theory) • จิตวิทยาเกสตัลท์อธิบายว่า มนุษย์เรามีแนวโน้มแต่กำเนิดที่จะรับรู้โดยภาพรวมมากกมากกว่าแยกเป็นส่วนย่อย โดยจะมีระบบการจัดหมวดหมู่สิ่งรับรู้แล้วให้ความหมาย • สนามการรับรู้แบ่งออกเป็นสองส่วนคือ ส่วนที่ถูกสนใจและรับรู้ เรียกว่า ภาพ(Figure) และส่วนที่ไม่เป็นที่สนใจเรียกว่า พื้น(Ground)

  38. ทฤษฎีสนามของกิ๊บสัน(Gibson’s Field theory) • เจมส์ กิ๊บสัน(James Gibson) เสนอว่า การเข้าใจการรับรู้ทำได้ดีกว่าการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวมากกว่าหาว่าเกิดอะไรขึ้นในหัวเรา • กิ๊บสันได้นำเสนอปัจจัยหลักในการรับรู้ภาพ 3 ประการ คือ • รูปแบบลำแสง(Optic array) ที่เข้ามากระทบเรตินา ให้ข้อมูลโครงร่างวัตถุในสภาพแวดล้อม • พื้นผิวที่ประกอบด้วยวัตถุต่างๆ(Textured gradients) เป็นตัวให้ข้อมูลเกี่ยวกับระยะทาง ความเร็ว ฯลฯ • การให้ความหมายสิ่งที่เห็น(Affordance) ซึ่งนำไปสู่การตอบสนอง • กิ๊บสันสรุปว่า การรับรู้ทางตานั้นถูกต้องมากที่สุด. การลวงตาเกิดขึ้นจากการมองเห็นในช่วงเวลาสั้นๆ ซึ่งมีโอกาสน้อยมากที่จะเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีของกิ๊บสันไม่ได้ให้คำอธิบายว่าเราให้ความหมายสิ่งที่เราเห็นได้อย่างไร ซึ่งเรื่องดังกล่าวนี้เกี่ยวข้องกับความจำและการเรียนรู้

  39. ทฤษฎีตรวจจับสัญญาณ(Signal Detection theory) • ทฤษฎีนี้มีพื้นฐานมากจากวิศวกรรมไฟฟ้า นักจิตวิทยาได้นำทฤษฎีนี้มาใช้เพื่อศึกษาการตัดสินใจในสถานการณ์ที่คลุมเครือ เช่น การรับรู้ระยะทางในสถานการณ์ที่มีหมอกหนา โดยสิ่งเร้าที่เป็นเป้าหมายของการรับรู้เรียกว่า สัญญาณ(Signal) และสิ่งเร้าที่รบกวนการรับรู้สัญญาณเรียกว่า สัญญาณรับกวน(Noise) • ในการทดการทดสอบผู้ทดสอบจะทดสอบว่า ผู้ถูกทดสอบรับรู้ได้อย่างถูกต้องหรือไม่ ถ้านำเสนอสิ่งเร้า และผู้ทดสอบรับรู้ได้เรียกว่า hit ถ้ารับรู้ไม่ได้เรียกว่า miss • หากไม่นำเสนอสิ่งเร้า แต่ผู้ถูกทดลองรายว่ารับรู้ได้ เรียกว่า false alarm แต่ถ้ารายว่ารับรู้ไม่ได้ เรียกว่า completed rejection

More Related