1 / 45

มาตรการปรับขนาดกำลังคนของกรุงเทพมหานคร

มาตรการปรับขนาดกำลังคนของกรุงเทพมหานคร. เป้าประสงค์หลัก. กำลังคนของกรุงเทพมหานครมีขนาดและคุณภาพที่เหมาะสม สอดคล้องกับภารกิจของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีการใช้กำลังคนอย่างคุ้มค่า ประหยัด เต็มศักยภาพ ได้ประโยชน์สูงสุด. กรอบอัตรากำลังข้าราชการและลูกจ้าง กรุงเทพมหานครปัจจุบัน.

Download Presentation

มาตรการปรับขนาดกำลังคนของกรุงเทพมหานคร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรการปรับขนาดกำลังคนของกรุงเทพมหานครมาตรการปรับขนาดกำลังคนของกรุงเทพมหานคร

  2. เป้าประสงค์หลัก กำลังคนของกรุงเทพมหานครมีขนาดและคุณภาพที่เหมาะสม สอดคล้องกับภารกิจของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีการใช้กำลังคนอย่างคุ้มค่า ประหยัด เต็มศักยภาพ ได้ประโยชน์สูงสุด

  3. กรอบอัตรากำลังข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานครปัจจุบันกรอบอัตรากำลังข้าราชการและลูกจ้างกรุงเทพมหานครปัจจุบัน กรอบอัตรากำลังของกรุงเทพมหานคร (ข้าราชการและลูกจ้าง) 99,834 ตำแหน่ง ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ลูกจ้างกรุงเทพมหานคร 40,092 ตำแหน่ง 59,742 ตำแหน่ง ประจำ 40,747 คน สามัญ 23,959 คน ชั่วคราว 16,235 คน ครู 16,133 คน โครงการ 2,760 คน ข้อมูล ณ มกราคม 2553

  4. กรอบอัตรากำลังข้าราชการและลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร ปี 2547 - 2551 84,825 83,642 80,613 81,145 76,997 จำนวนคน

  5. กรอบอัตรากำลังข้าราชการและลูกจ้างของกรุงเทพมหานคร ปี 2547 - 2551 จำนวนคน

  6. กรอบอัตรากำลังจำแนกตามกลุ่มภารกิจกรอบอัตรากำลังจำแนกตามกลุ่มภารกิจ

  7. กรอบอัตรากำลังจำแนกตามกลุ่มภารกิจกรอบอัตรากำลังจำแนกตามกลุ่มภารกิจ ปกครองและประสานงาน สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สาธารณูปโภคพื้นฐาน และป้องกันภัย (18,839) (40,630) (11,363)

  8. กรอบอัตรากำลังจำแนกตามกลุ่มภารกิจกรอบอัตรากำลังจำแนกตามกลุ่มภารกิจ สังคมและ ทรัพยากรมนุษย์ นโยบายและ ติดตามประเมิน การบริหารและการคลัง (18,839) (4,997) (11,363)

  9. แบ่งการดำเนินการเป็น ๒ มาตรการ

  10. มาตรการหลักระยะสั้น ๑.ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ๑.๑ โดยหลักการ ไม่เพิ่มกรอบอัตรากำลังในภาพรวมทุกหน่วยงาน ยกเว้นกรณีอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เนื่องจากมีการจัดตั้งหน่วยงานหรือส่วนราชการขึ้นใหม่ หรือเป็นหน่วยงานที่จัดตั้งไว้อยู่ก่อนแล้ว ที่มีความจำเป็นต้องเพิ่มอัตรากำลัง โดยส่วนราชการหรือหน่วยงานที่จะเพิ่มกรอบอัตรากำลังได้ต้องมีลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง ดังนี้

  11. มาตรการหลักระยะสั้น ๑.ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ (ต่อ) ๑.๑.๑ เป็นหน่วยงานหรือส่วนราชการที่ทำหน้าที่ให้บริการประชาชนโดยตรง ๑.๑.๒ เป็นหน่วยงานหรือส่วนราชการที่จะต้องดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือได้รับการถ่ายโอนภารกิจมาจากราชการส่วนกลางหรือตามที่กฎหมายกำหนด หากไม่ดำเนินการจะทำให้เกิดความเสียหายแก่กรุงเทพมหานคร โดยมีแนวทางดำเนินการดังนี้

  12. มาตรการหลักระยะสั้น ๑.ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ (ต่อ) (๑) ในเบื้องต้นให้เกลี่ยอัตรากำลังจากตำแหน่งภายในส่วนราชการหรือหน่วยงานก่อน (๒) หากยังมีอัตรากำลังไม่เพียงพอ ให้หน่วยงานปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานหรือใช้การจ้างงานที่หลากหลาย เช่น การจ้างลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างที่ปฏิบัติตามโครงการจ้างอาสา หรือจ้างเหมาเอกชนแล้วแต่กรณี

  13. มาตรการหลักระยะสั้น ๑.ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ (ต่อ) (๓) หากดำเนินการแล้วยังมีอัตรากำลังไม่เพียงพออีก ให้เสนอเหตุผล ความจำเป็นให้คณะกรรมการจัดสรรกำลังคนของกรุงเทพมหานครพิจารณาจัดสรรอัตราว่างจากหน่วยงานอื่นมาให้ (๔) หากคณะกรรมการฯ ไม่สามารถจัดสรรอัตราให้ได้หรือจัดสรรให้แล้ว ยังมีอัตรากำลังไม่เพียงพอจึงจะสามารถนำเสนอขอเพิ่มกรอบอัตรากำลังได้ โดยการเพิ่มกรอบอัตรากำลังจะมีเงื่อนไขดังนี้

  14. มาตรการหลักระยะสั้น ๑.ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ (ต่อ) - หน่วยงานจะได้รับกรอบอัตรากำลังไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของกรอบอัตรากำลังที่สำนักงาน ก.ก. วิเคราะห์ได้ สำหรับกรอบอัตรากำลังที่ยังขาดอยู่อีกร้อยละ ๕๐ ให้หน่วยงานแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการอื่น เช่น การสร้างเครือข่ายในการทำงาน Project Management ไปก่อนจนกว่าจะมีการประกาศยกเลิกมาตรการ

  15. มาตรการหลักระยะสั้น ๑.ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ (ต่อ) - สำนักงาน ก.ก. จะดำเนินการวิเคราะห์อัตรากำลังให้หน่วยงานอีกครั้ง เมื่อยกเลิกมาตรการ หากวิเคราะห์แล้วปรากฏว่าหน่วยงานยังมีความจำเป็นต้องใช้อัตรากำลัง จึงจะกำหนดอัตรากำลังเพิ่มใหม่ให้ - กรณีที่เป็นตำแหน่งในสายงานสนับสนุน เมื่อวิเคราะห์แล้วจะไม่กำหนดกรอบอัตรากำลังเป็นตำแหน่งข้าราชการ โดยสำนักงาน ก.ก. จะกำหนดจำนวนผู้ปฏิบัติให้และให้ใช้วิธีจ้างเหมาเอกชนดำเนินการ

  16. มาตรการหลักระยะสั้น ๑. ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ๑.๒ ให้นำอัตราว่างจากการเกษียณอายุราชการ เสนอให้คณะกรรมการจัดสรรกำลังคนของกรุงเทพมหานคร พิจารณาจัดสรรให้หน่วยงานในภาพรวมตามความจำเป็นเร่งด่วน

  17. มาตรการหลักระยะสั้น ๑. ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ๑.๓ ให้นำตำแหน่งเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลที่ว่างจากการเกษียณอายุราชการและในระหว่างปีมารวมไว้ที่ส่วนกลาง (สำนักงาน ก.ก.) เพื่อนำเสนอคณะกรรมการจัดสรรกำลังคนของกรุงเทพมหานครพิจารณาจัดสรรให้หน่วยงานที่มีความจำเป็นในการใช้อัตรากำลังหรือหน่วยงานที่จัดตั้งใหม่

  18. มาตรการหลักระยะสั้น ๒.ตำแหน่งลูกจ้างประจำ ๒.๑ ไม่ให้เพิ่มอัตรากำลังลูกจ้างประจำที่มีชื่อหรือลักษณะงานซ้ำซ้อนกับข้าราชการ ๒.๒ กำหนดให้หน่วยงานสามารถเพิ่มกรอบอัตราลูกจ้างประจำได้ดังนี้

  19. มาตรการหลักระยะสั้น ๒.ตำแหน่งลูกจ้างประจำ ๒.๓ ให้ยุบเลิกกรอบอัตราลูกจ้างประจำที่ว่างจากการเกษียณอายุและว่างระหว่างปี (ตาย ลาออก ออกด้วยเหตุวินัย) กรณีที่หน่วยงานมีความจำเป็นต้องใช้ตำแหน่งที่ว่าง ให้นำตำแหน่งลูกจ้างประจำอื่นมาเปลี่ยนเพื่อทดแทนได้ หากหน่วยงานไม่มีตำแหน่งว่างตำแหน่งอื่นมาเปลี่ยนเพื่อทดแทนให้หน่วยงานแจ้งเหตุผลความจำเป็น และนำเสนอไปยังกองการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร เพื่อจะได้มีการพิจารณาความจำเป็นของหน่วยงานนำเสนอคณะกรรมการจัดสรรกำลังคนของกรุงเทพมหานครต่อไป

  20. มาตรการหลักระยะสั้น ๒.ตำแหน่งลูกจ้างประจำ ๒.๔ เปลี่ยนตำแหน่งและเกลี่ยอัตรากำลังลูกจ้างประจำที่มีเงื่อนไขตามข้อบังคับกรุงเทพมหานครว่าด้วยการกำหนดอัตราจ้างขั้นต่ำสุดและสูงสุดของลูกจ้าง ไปรองรับการจ้างและแต่งตั้งลูกจ้างชั่วคราวเป็นลูกจ้างประจำแทน การขอพิจารณากำหนดอัตราลูกจ้างประจำเพิ่มในแต่ละปีงบประมาณ รวมทั้งการนำอัตรากำลังลูกจ้างที่เกษียณอายุราชการประจำปี มาดำเนินการร่วมด้วยอีกทางหนึ่ง

  21. มาตรการหลักระยะสั้น ๓.ตำแหน่งลูกจ้างชั่วคราว ๓.๑ การคัดเลือกลูกจ้างชั่วคราวเป็นลูกจ้างประจำ ผู้ที่จะได้รับการคัดเลือกต้องอยู่ในตำแหน่งที่คัดเลือกติดต่อกันมาไม่น้อยกว่า ๓ ปี (นับถึงวันสิ้นปีงบประมาณ) สำหรับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคัดเลือกอื่น ๆ ให้เป็นไปตามคณะกรรมการพิจารณาผลการคัดเลือกลูกจ้างชั่วคราวเป็นลูกจ้างประจำกำหนด

  22. มาตรการหลักระยะสั้น ๓.ตำแหน่งลูกจ้างชั่วคราว ๓.๒ ชะลอการกำหนดอัตรากำลังลูกจ้างชั่วคราวเพิ่มทุกกรณี ยกเว้นกรณีที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครเห็นว่ามีเหตุพิเศษหรือมีความจำเป็นเร่งด่วน ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป หรือจนกว่าสถานการณ์ด้านงบประมาณจะผ่อนคลายภายใต้บทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  23. มาตรการหลักระยะสั้น ๓.ตำแหน่งลูกจ้างชั่วคราว ๓.๓ นำรูปแบบการจ้างเหมาเอกชน มาดำเนินการแทนการจ้างลูกจ้าง โดยพิจารณาจากความจำเป็นเหมาะสมตามสภาพงาน เช่น การจ้างเหมาทำความสะอาดภายในอาคาร การทำความสะอาดทางสาธารณะทั้งทางบกและทางน้ำ การรักษาความปลอดภัย เป็นต้น ทั้งนี้คาดหมายว่าภายในปีงบประมาณ ๒๕๕๕ จะดำเนินการจ้างเอกชนหรือมีเครือข่ายมาดำเนินการแทนการจ้างลูกจ้างประจำ ประมาณร้อยละ ๔๐

  24. มาตรการหลักระยะยาว • ให้สำนักงาน ก.ก. และหน่วยงานร่วมกันตรวจสอบตำแหน่งที่ปฏิบัติภารกิจรองและภารกิจสนับสนุนของหน่วยงาน และจัดทำบัญชีแสดงตำแหน่งที่ปฏิบัติภารกิจสนับสนุน กรณีที่หน่วยงานใดมีตำแหน่งที่ปฏิบัติภารภิจสนับสนุนเกินกว่าร้อยละ ๒๐ ของจำนวนตำแหน่งทั้งหมด ให้หน่วยงานและสำนักงาน ก.ก. ร่วมกันพิจารณาและลดจำนวนตำแหน่งไม่ให้เกินกว่าที่กำหนด

  25. มาตรการหลักระยะยาว ๒. ให้หน่วยงานปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการทำงาน เช่น นำเทคโนโลยีมาทดแทนการใช้กำลังคนหรือใช้วิธีการจ้างงานที่หลากหลายรูปแบบ เพื่อให้มีผู้ปฏิบัติงานทดแทนในภารกิจสนับสนุน

  26. มาตรการหลักระยะยาว ๓. ให้กองการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร และส่วนราชการที่ปฏิบัติงานการเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน สำรวจตำแหน่งที่ไม่สามารถแต่งตั้งข้าราชการไปดำรงตำแหน่งได้ และเป็นตำแหน่งที่ว่างเกินกว่า ๑ ปี เพื่อแจ้งให้สำนักงาน ก.ก. ตรวจสอบและหากพบว่าเกิดจากการกำหนดตำแหน่งไม่เหมาะสม ให้ดำเนินการปรับปรุงตำแหน่งใหม่ และหากพบปัญหาอื่น เช่น ยังไม่เปิดสอบให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเร่งดำเนินการ

  27. มาตรการหลักระยะยาว ๔. ให้กรุงเทพมหานครกำหนดระยะเวลาการแต่งตั้ง (ย้าย) ข้าราชการในแต่ละตำแหน่งให้มีกำหนดเวลาที่ชัดเจนและดำเนินการปีละ ๒ ครั้ง (วันที่ ๑ เม.ย. และวันที่ ๑ ต.ค. ของทุกปี) ยกเว้นกรณีมีความจำเป็นเร่งด่วนมิอาจเลี่ยงได้

  28. มาตรการสนับสนุน เพื่อให้การดำเนินการตามมาตรการหลักเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เกิดผลกระทบต่อการปฏิบัติราชการ จึงได้กำหนดมาตรการ สนับสนุนขึ้น เพื่อให้ สำนักงาน ก.ก. กองการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานได้นำไปปฏิบัติ โดยกำหนดเป็น ๓ ยุทธศาสตร์ ดังนี้

  29. มาตรการสนับสนุน (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การทบทวนภารกิจ การตรวจสอบการใช้ตำแหน่งและการจัดอัตรากำลังให้เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจ ๑.๑ การทบทวนภารกิจของหน่วยงาน / ส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร ๑.๒ การตรวจสอบการใช้ตำแหน่งและการจัดอัตรากำลังให้เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจ

  30. มาตรการสนับสนุน (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การนำหลักสมรรถนะไปใช้ในกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ๒.๑ การกำหนดแนวทางการนำหลักสมรรถนะมาใช้กับกระบวนการสรรหาบุคคลของกรุงเทพมหานคร ๒.๒ การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการคัดเลือกบุคคลเพื่อให้ได้บุคลากรที่มีศักยภาพ สำหรับการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ ๒.๓ การกำหนดกรอบแนวทางในการพัฒนาบุคลากร โดยพิจารณาจากสมรรถนะที่ควรส่งเสริมหรือพัฒนาให้เกิดศักยภาพมากยิ่งขึ้น

  31. มาตรการสนับสนุน (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติราชการด้วยมาตรการจูงใจ ๓.๑ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติราชการ ๓.๒ การวางแผนกำลังคนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้กำลังคน

  32. สรุปปัญหาของหน่วยงานที่เกิดจากสรุปปัญหาของหน่วยงานที่เกิดจาก มาตรการปรับขนาดกำลังคนของกรุงเทพมหานคร

More Related