1 / 34

ความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ ( Reproductive Failure )

ความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ ( Reproductive Failure ). ประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ การวัดประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ สาเหตุของความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ ความผิดปกติทางพันธุกรรม ปัจจัยทางด้านโภชนะ ความเครียดจากสิ่งแวดล้อมและการจัดการฟาร์ม โรคทางระบบสืบพันธุ์.

collin
Download Presentation

ความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ ( Reproductive Failure )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ (Reproductive Failure) • ประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ การวัดประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ • สาเหตุของความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ • ความผิดปกติทางพันธุกรรม • ปัจจัยทางด้านโภชนะ • ความเครียดจากสิ่งแวดล้อมและการจัดการฟาร์ม • โรคทางระบบสืบพันธุ์ อ. กฤติยา เลิศชุณหะเกียรติ

  2. ประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์

  3. การจัดการด้านการสืบพันธุ์โคเนื้อการจัดการด้านการสืบพันธุ์โคเนื้อ • การคัดเลือกโคเพศเมียเพื่อทดแทน ควรจัดไว้เกิน 2 เท่าของแม่โคคัดทิ้ง • อายุเริ่มผสมพันธุ์ โคเพศเมีย อายุไม่เกิน 8 เดือน • โคเนื้อเพศผู้อายุ 2 ปี – 2 ปีครึ่ง คุมฝูงเพศเมียประมาณ 12 – 25 ตัว • โคเนื้อเพศผู้อายุ 3 ปี ขึ้นไป คุมฝูงเพศเมียประมาณ 20 – 30 ตัว • แม่โคตั้งท้องประมาณ 282 +/- 8 วัน (274 – 290 วัน) • จำนวนวันกลับสัดปกติ 21 วัน • หย่านมลูกโค ประมาณ 200 วัน • กลับสัดหลังคลอดประมาณ 3 – 4 เดือน และไม่จับผสมเมื่อเป็นสัดหลังคลอดครั้งแรก (ควรผสมหลัง 60 วันหลังคลอด การผสมภายใน 40 วันจะทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย)

  4. การจัดการด้านการสืบพันธุ์โคนมการจัดการด้านการสืบพันธุ์โคนม • การคัดเลือกโคเพศเมียเพื่อทดแทน ควรจัดไว้เกิน 2 เท่าของแม่โคคัดทิ้ง • อายุเริ่มผสมพันธุ์ โคเพศเมีย อายุไม่เกิน 8 เดือน • โคนมเพศผู้อายุ 2 ปี – 2 ปีครึ่ง คุมฝูงเพศเมียประมาณ 12 – 25 ตัว • โคนมเพศผู้อายุ 3 ปี ขึ้นไป คุมฝูงเพศเมียประมาณ 20 – 30 ตัว • แม่โคตั้งท้องประมาณ 282 +/- 8 วัน (274 – 290 วัน) • จำนวนวันกลับสัดปกติ 21 วัน • หย่านมลูกโค หลังจากได้กินนมน้ำเหลือง (Colostrums 3 วัน) และให้น้ำนมต่อประมาณ 1 เดือน และให้นมผงละลายน้ำต่อไปจนอายุประมาณ 12 – 16 สัปดาห์ • กลับสัดหลังคลอดประมาณ 3 – 4 เดือน และไม่จับผสมเมื่อเป็นสัดหลังคลอดครั้งแรก (ควรผสมหลัง 60 วันหลังคลอด การผสมภายใน 40 วันจะทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย)

  5. การจัดการด้านการสืบพันธุ์สุกรการจัดการด้านการสืบพันธุ์สุกร * อายุเริ่มผสมพันธุ์ สุกรเพศเมีย อายุไม่เกิน 8 เดือน • สุกรเพศผู้อายุ 8 เดือนขึ้นไป นิยมใช้ผสมเทียมมากกว่า • แม่สุกรตั้งท้องประมาณ 114 +/- 3 วัน (3 เดือน 3 สัปดาห์ 3 วัน) • จำนวนวันกลับสัดปกติ 21 วัน • หย่านมลูกสุกร ประมาณ 28 วัน • กลับสัดหลังคลอดประมาณ 3 วัน - 1 สัปดาห์ และไม่จับผสมเมื่อเป็นสัดหลังคลอดครั้งแรก

  6. การวัดประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์การวัดประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ (Measures of reproductive efficiency) • อายุเมื่อคลอดลูกตัวแรก(First calf age,month) • จำนวนวันท้องว่าง (Days open, day) • อัตราการตั้งท้องเมื่อผสมครั้งแรก (First-service conception rate,%) • ช่วงห่างระหว่างการคลอดลูก (Calving interval, day) • จำนวนครั้งที่ผสม/การตั้งท้อง (Service per conception) • อัตราการตั้งท้อง (Pregnancy rate, %) • อัตราการคลอดลูก (Calving rate, %) • ผลผลิตลูก (Net calf crop, %)

  7. สาเหตุของความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์สาเหตุของความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ (Causes of Reproductive Failure) ความผิดปกติทางพันธุกรรม 1.ระบบสืบพันธุ์ไม่พัฒนา เช่น ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ (มีโครโมโซมเพศมาก/น้อยเกินไป)ทำให้เกิดการฝ่อของอัณฑะหรือรังไข่ (Testicular hypoplasia or ovarian hypoplasia)

  8. **อาการผิดปกติที่พบ เช่น การขาดหายไปของอวัยวะบางอย่าง ได้แก่ปีกมดลูก ปากมดลูก ช่องคลอด หรืออวัยวะสืบพันธุ์ **มีลักษณะการพับงอหรืออุดตันของท่อนำไข่ **รังไข่เป็นถุงน้ำ (cystic ovary)

  9. 2.ไม่สมบูรณ์พันธุ์และเป็นหมัน Chimerism Mosaicism

  10. การตายก่อนเกิด Triploid Tetraploid การได้รับผลของเพศตรงข้าม (Intersexuality) True hermaphrodite female pseudohermaphrodite male pseudohemaphrodite Freemartin ภาพความผิดปกติของ True hermaphrodite ในสุกร

  11. Abortion การคลอดก่อนกำหนด/ แท้ง

  12. Freemartin

  13. ปัจจัยทางด้านโภชนะ 1.พลังงาน การได้รับพลังงานเกิน :ผลผลิตต่ำ แท้ง คลอดลำบาก รกค้าง ความกำหนัดต่ำ การขาดพลังงาน : ถึงวัยหนุ่มสาวช้า แสดงการเป็นสัดไม่ชัดเจน มีปัญหาการตกไข่ ความกำหนัดต่ำ การผลิตอสุจิน้อย 2. โปรตีน การได้รับโปรตีนเกิน :การผสมติดต่ำ การขาดโปรตีน : แสดงการเป็นสัดไม่ชัดเจน การผสมติดต่ำ ตัวอ่อนตาย แท้ง ลูกอ่อนแอ

  14. 3. วิตามิน การขาดวิตามินA : มีปัญหาต่อกระบวนการผลิตอสุจิ รังไข่ ไม่ทำงาน ผสมติดต่ำ แท้ง ลูกอ่อนแอ ลูกตาย รกค้าง

  15. การขาดวิตามิน D : ในสัตว์ที่ตั้งท้องไม่ควรให้ขาดวิตามินดี เนื่องจากช่วยในการพัฒนาของกระดูกของลูกสัตว์ โดยเฉพาะในช่วงใกล้คลอดจะมีผลต่อการขยายตัวของกระดูก เชิงกราน

  16. การขาดวิตามิน E : ลูกในท้องถูกดูดซึมกลับ (reabsorption) เพศผู้เป็นหมันถาวร

  17. การขาดแคลเซียม: การพัฒนาของกระดูกผิดปกติ ลูกรอดชีวิตน้อยลง

  18. การขาดฟอสฟอรัส : รังไข่ไม่ทำงาน วงรอบสัดผิดปกติ

  19. การขาดไอโอดีน : ลูกในท้องโตช้า วงรอบสัดผิดปกติ รกค้าง การขาดซีลีเนียม : รกค้าง

  20. สารพิษที่ปนเปื้อนในอาหาร: อันตรายขึ้นกับชนิดสัตว์ ความเป็นพิษ ขนาดที่ได้รับ ระยะเวลาที่ได้รับ และความ สามารถของร่างกายในการกำจัดสารพิษ (detoxification) ตัวอย่างสารพิษ เช่น สารพิษจากเชื้อราในอาหาร เช่น fumonisin , zearalinone ทำให้อวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศผู้ และเพศเมียของสัตว์เกิดการบวมน้ำ สารพิษจากพืชบางชนิด (Phytoestrogen) สามารถทำให้ เกิกความผิดปกติของเซลล์ในกระบวนการ spermatogenesis และอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ในหนูขาวเพศผู้และสัตว์เลี้ยงลูกด้วย นมอื่นๆ

  21. การจัดการให้อาหาร กลุ่มที่ต้องระมัดระวังในการให้อาหารมากที่สุด คือ กลุ่มตั้งท้อง โดยเฉพาะช่วงปลายของการตั้งท้อง หากแม่ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลต่อการเจริญเติบโต ของลูก และในสัตว์บางชนิดซึ่งพบพฤติกรรมการกินลูกเมื่อขาด สารอาหาร เช่น กระต่าย หนู เป็นต้น การปรนอาหาร (Flushing) การเพิ่มระดับพลังงานในอาหารสุกรสาวช่วยทำให้การตกไข่ เพิ่มขึ้นในสุกร โค และแกะ นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มโอกาสเกิด ลูกแฝดในโคนม ในสัตว์เพศผู้หากไม่ปรนอาหารสัตว์จะเป็นหนุ่มช้ากว่าปกติ

  22. ความเครียดจากสิ่งแวดล้อมความเครียดจากสิ่งแวดล้อม ความเครียด (stress) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ แวดล้อม ที่รุนแรงในระดับที่มีผลต่อพฤติกรรมและการตอบ สนองทางสรีรวิทยาของสัตว์ในทางไม่ดี เช่น เกิดจากความ ร้อน การปล่อยขุนอย่างหนาแน่น สภาวะแวดล้อมไม่ดี การจัดการไม่ดี

  23. ความเครียดจากความร้อน มีผลเสียดังนี้ 1. เข้าวัยหนุ่มสาวช้า 2.ผลผลิตอสุจิต่ำลงทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 3.แสดงอาการเป็นสัดไม่ชัดเจน และอัตราการผสมติดต่ำ ความสัมพันธ์ทางสรีรวิทยาของสิ่งแวดล้อมกับการสืบพันธุ์ สัตว์จะมีการตอบสนองผ่านกลไกของต่อมไร้ท่อ โดยความ เครียดจะกระตุ้นให้มีการหลั่ง ACTH จากต่อมใต้สมองส่วน หน้า ไปกระตุ้นต่อมหมวกไตให้หลั่ง cortisol และ glucocorticoids อื่นๆ ซึ่งส่งผลให้ LH หลั่งน้อยลง หากความเครียดเกิดในช่วงใกล้เคียงการเป็นสัดจะไปขัดขวาง การตกไข่ ส่วนในเพศผู้จะมีความกำหนัดลดลง

  24. ปัจจัยที่ช่วยในการบรรเทาความร้อน ได้แก่ 1. ร่มเงา 2.การเลือกวัสดุมุงโรงเรือน การใช้ฉนวนความร้อนที่หลังคา ใช้สีขาวทาทำให้สะท้อนแสงได้ดีขึ้น 3.การจัดการภายในโรงเรือน ไม่เลี้ยงสัตว์หนาแน่นเกินไป 4.ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ช่วย 4.1 พัดลม หรือตัวดูดอากาศ ช่วยระบายความร้อน 4.2 พ่นหมอก(spray) โดยตรง 4.3 ใช้ระบบการระเหยของน้ำ (evaporative cooler) 5.การให้น้ำและอาหาร เช่น น้ำเย็น

  25. โรคที่เกิดจากแบคทีเรียโรคที่เกิดจากแบคทีเรีย • โรคที่เกิดจากไวรัส • โรคที่เกิดจากโปรโตซัว โรคพยาธิ โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 1. Vibriosis (Bovine venerael* campylobacteriosis 0r BVC) -Cause of Infertility and abortion -Caused by the bacteriumCampylobacterfetus -can be infected for a long time without showing any signs of illness -Prevention by vaccination * venerael = แพร่จากการผสมพันธุ์

  26. 2. Leptospirosis **can affect humans -Cause of Infertility and abortion -Caused by the bacteriumLeptospires in mammals -signs of illness: like the flu,vomiting,diarrhea, refusal to eat, weakness but infection in the kidney, liver, brain,lung and heart -infected by contact with urine or other body fluids except saliva -the bacteria can enter the body through skin or mucous membrane (eyes,nose,mouth) -Prevention by vaccination

  27. 3. Brucellosis **can affect humans -Cause of abortion -Caused by the bacteriumBrucella abortus in mammals -signs of illness: like the flu, headaches, back pains ,weakness (chronic symptoms that recurrent fever, joint pain and fatigue) -infected by eating or drinking something that is contaminated with Brucella , breathing (Inhalation) or through skin wounds. - vaccination for calf age 3 - 8 months and culling-destroy infected animals -NO vaccine for human

  28. โรคที่เกิดจากไวรัส 1. Bovine Viral Diarrhea (BVD) -Cause of abortion and abnormal fetus (teratogenicity) -Sign of illness : anorexia and dirrhaea -Infection by contact disease and environmental involve fluid from infected animals -Prevention by vaccination

  29. Infectious Bovine Rhinotracheitis (IBR-IPV virus) -Cause of abortion and reduced fertility -Sign of illness : anorexia and dirrhaea -Infection by contact disease and environmental involve fluid from infected animals -Prevention by vaccination

  30. โรคที่เกิดจากโปรโตซัวโรคที่เกิดจากโปรโตซัว 1.Trichomoniasis * venereal disease -Cause of reduced conception rates, lowered weaning weight -Caused by the protozoaTrichomonas fetus in cattle -lives on the tissue lining of the penis and prepuce -Infection in the cow occurs primarily by exposure to an infected bull at breeding and contaminated insemination equipment -prevention and control by sampling method in the bull

  31. 2.Toxoplasmosis **can affect humans -Cause of abortion -Caused by the protozoaToxoplasma gondii in mammals -the organisms multiply in the wall of intestine and produce oocysts, within 5 days the oocysts may sporulate become infectious to other animals and human -Two drugs can often used = sulfadiazine + pyrimethamine

More Related