1 / 20

กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี

เขตบริการสุขภาพที่ 5. กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี. สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์. การให้บริการขาเทียม โรงพยาบาลราชบุรี. บุคลากร - แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู 2 คน - ช่างกายอุปกรณ์ 5 คน - เจ้าพนักงานธุรการ 1 คน.

conley
Download Presentation

กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เขตบริการสุขภาพที่ 5 กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์

  2. การให้บริการขาเทียม โรงพยาบาลราชบุรี บุคลากร - แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู 2 คน - ช่างกายอุปกรณ์ 5 คน - เจ้าพนักงานธุรการ 1 คน

  3. ขาเทียม

  4. แขนเทียม

  5. กายอุปกรณ์เสริม

  6. รองเท้าเบาหวานและการดัดแปลงรองเท้ารองเท้าเบาหวานและการดัดแปลงรองเท้า

  7. ดัดแปลงและซ่อมรถนั่งคนพิการดัดแปลงและซ่อมรถนั่งคนพิการ

  8. ปริมาณงาน งานกายอุปกรณ์

  9. ปริมาณขาเทียม ต.ค.56 - พ.ค.57

  10. ขาเทียมมูลค่าสูง

  11. บริการกายอุปกรณ์ในโรงพยาบาลโพธาราม พ.ค.56-พ.ค.57

  12. งบประมาณ • กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • กองทุนสวัสดิการข้าราชการ • กองทุนประกันสังคม • กองทุนเงินทดแทน • เงินบริจาค

  13. การดำเนินงานตามตัวชี้วัด จังหวัดราชบุรี • สสจ. ดำเนินการให้มีการสำรวจผู้พิการขาขาดและรวบรวมข้อมูล(ตามแบบฟอร์มของศูนย์สิรินธรฯ) • ประสานโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้บริการ • ส่งผู้พิการไปรับบริการ • ประสานแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูพิจารณารายที่มีปัญหา • สรุปผลการดำเนินงาน

  14. การดำเนินงานตามตัวชี้วัด จังหวัดราชบุรี ผลการดำเนินงาน • ผลการสำรวจ 15 พ.ค.57 มีผู้พิการขาขาด จำนวน 300 คน ได้รับขาเทียมหรืออุปกรณ์แล้ว 214 คน คิดเป็น 71.3% • หลังจากส่งผู้พิการเข้ารับบริการ ผลการประเมิน ณ วันที่10 มิ.ย.57 มีผู้ได้รับบริการเพิ่มขึ้น 41 คน รวมเป็นผู้ได้รับบริการแล้ว 255 คน คิดเป็น 85%

  15. ปัญหา/อุปสรรค • ความเหลื่อมล้ำในการจ่ายค่ากายอุปกรณ์จากทั้ง 3 กองทุน ทั้งจำนวนรายการและราคาราคาที่กำหนดไม่เป็นปัจจุบัน • มีความหลากหลายในรูปแบบของขาเทียมที่ให้บริการรวมทั้งคุณภาพและราคา ทำให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ผู้รับบริการในแต่ละพื้นที่ • หน่วยให้บริการมีน้อยมีไม่ครบทุกจังหวัด ผู้พิการต้องเดินทางมาไกลเพื่อรับบริการ บางรายรอจนขาเทียมชำรุดมาก • มีปัญหาความทนทานของวัสดุบางรายการที่ชำรุดง่ายทำให้ต้องเปลื่ยนบ่อยเช่น เข็มขัดขาเทียม ฝ่าเท้าเทียม เป็นต้น • งบประมาณไม่เพียงพอ

  16. ความต้องการให้สนับสนุนความต้องการให้สนับสนุน • สนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอ และมีการตรวจสอบการเบิกจ่ายที่เข้มแข็ง • องค์ความรู้เกี่ยวกับการทำขาเทียม รวมทั้งเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัย อาจจะเป็นรูปแบบในการอบรมหรือเอกสาร หรือทางสื่อ on line • สนับสนุนให้มีการวิจัยและพัฒนา การทำขาเทียมทั้งในด้านคุณภาพและราคา

  17. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา • พัฒนาให้มีงานกายอุปกรณ์ อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง • ปรับเปลี่ยนการสนับสนุนงบประมาณของทั้ง 3 กองทุน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน • รูปแบบขาเทียมที่ให้บริการควรมีมาตรฐานเดียวกัน ตามข้อบ่งชี้ ผู้พิการสามารถจ่ายส่วนเกิน ถ้าต้องการขาเทียมที่มีราคาสูงเกินมาตรฐานตามข้อบ่งชี้ • มีการสร้างระบบการประเมินและรับรองคุณภาพของวัสดุกายอุปกรณ์ในส่วนที่เป็นวัสดุหลักหรือราคาแพงจากบริษัทผู้จำหน่าย เพื่อให้โรงพยาบาลมีความมั่นใจในการเลือกซื้อ

More Related