1 / 22

การจัดการเรียนรู้แบบ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

การจัดการเรียนรู้แบบ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์. ความหมายของความคิดสร้างสรรค์. ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง กระบวนการทางปัญญาระดับสูงที่ใช้กระบวนการทางความคิดหลาย ๆ อย่างมารวมกัน เพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หรือแก้ปัญหาที่มีอยู่ให้ดีขึ้น โดยมีอิสรภาพทางความคิด. แนวคิดสำคัญของความคิดสร้างสรรค์.

cruz-young
Download Presentation

การจัดการเรียนรู้แบบ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการเรียนรู้แบบ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

  2. ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง กระบวนการทางปัญญาระดับสูงที่ใช้กระบวนการทางความคิดหลาย ๆ อย่างมารวมกัน เพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หรือแก้ปัญหาที่มีอยู่ให้ดีขึ้น โดยมีอิสรภาพทางความคิด

  3. แนวคิดสำคัญของความคิดสร้างสรรค์แนวคิดสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการทางปัญญาระดับสูงที่ใช้กระบวนการทางความคิดหลายๆ อย่างมารวมกัน ประกอบด้วย - ความคิดคล่องแคล่ว - ความคิดยืดหยุ่น - ความคิดริเริ่ม - ความคิดละเอียดลออ

  4. ประเภทของความคิดสร้างสรรค์ประเภทของความคิดสร้างสรรค์ ประเภทความเปลี่ยนแปลง ประเภทสังเคราะห์ ประเภทต่อเนื่อง ประเภทลอกเลียนแบบ ประเภทของความคิดสร้างสรรค์

  5. ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ขั้นสร้างความตระหนัก ขั้นระดมพลังคิด ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน ขั้นนำเสนอผล ขั้นวัด/ประเมินผล ขั้นเผยแพร่ผลงาน

  6. ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 7. เชื่อมโยงความคิดเป็นระบบอย่างมีขั้นตอนจากง่ายไปยาก และจากสิ่งใกล้ตัว ไปไกลตัว 1. ผู้เรียนมีความคิดที่อิสระ ไม่มีรูปแบบตายตัว 4. เปิดทางเลือกให้ผู้เรียนหาคำตอบที่หลากหลาย 8. นำไปจัดการเรียนรู้ได้กับทุกกลุ่มสาระและสามารถเชื่อมโยงกับรูปแบบการเรียนรู้อื่นๆ 2. ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง 5. ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 6. ผู้เรียนสร้างชิ้นงาน ผลงาน สิ่งประดิษฐ์แปลกใหม่ที่เป็นรูปธรรม 3. มีการบูรณาการในตัวเอง

  7. อุปสรรค์ในการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 1. อุปสรรคด้านการรับรู้ 2. อุปสรรคด้านวัฒนธรรม 3. อุปสรรคด้านอารมณ์

  8. การนำการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไปใช้การนำการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไปใช้ 1. ส่งเสริมให้เด็กถาม และให้ความสนใจต่อคำถาม 2.ตั้งใจฟังและเอาใจใส่ต่อการคิดแปลก ๆ ของเด็กด้วยใจเป็นกลาง 3. แสดงและเน้นให้เด็กเห็นว่าความคิดของเด็กนั้นมีคุณค่า และนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 4. กระตุ้นและส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง 5.เปิดโอกาสให้นักเรียนเรียนรู้ หรือค้นคว้าอย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ

  9. การนำการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไปใช้การนำการจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไปใช้ 6.พึงระวังว่าการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในเด็กต้องใช้เวลาและพัฒนาอย่างคอยเป็นค่อยไป 7. ส่งเสริมให้เด็กใช้จินตนาการของตนเองและยกย่องชมเชย

  10. ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ : แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หน่วย การอ่านคำควบกล้ำ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง คำควบกล้ำ เวลา 2 ชั่วโมง

  11. สาระสำคัญ การออกเสียงควบกล้ำได้ถูกต้อง ชัดเจน มีผลทำให้การติดต่อสื่อสารได้ตรงตามเป้าหมาย และมีประสิทธิภาพ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. จำแนกประเภทของคำควบกล้ำแท้ และไม่แท้และออกเสียงได้ถูกต้อง ชัดเจน 2. บอกผลดี ผลเสียของการอ่านออกเสียง ควบกล้ำที่ชัดเจนและไม่ชัดเจน 3. เลือกคำควบกล้ำนำไปใช้ในการเขียน รูปแบบต่างๆ เชิงสร้างสรรค์ได้

  12. สาระการเรียนรู้ - ลักษณะของคำควบกล้ำ - คำควบกล้ำแท้ / คำควบกล้ำไม่แท้

  13. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นสร้างความตระหนัก 1. สนุกกับเพลง ร , ล เพลง ร,ล เอ้อระเหยลอยมา ลอยมาแล้วก็ลอยไป วันนี้เรามาสนุก เรามีความสุขกับภาษาไทย ตัว ร นั้นอยู่ข้างหน้า สระ อา ตามมา อ่านว่าอย่างไร ตัว ล นั้นอยู่ข้างหน้า สระ อา ตามมา อ่านว่าอย่างไร ตัว ป ตัว ล สระ อา เธอจ๊ะ เธอจ๋า อ่านมาเร็วไว พวงเจ้าเอ๋ยลำไยอ่านภาษาไทยให้ถูกต้องเอย

  14. 2. ผู้เรียนเล่นเกม “น้ำขึ้น น้ำลง” เพื่อสังเกตและจำแนกเสียง โดยผู้สอนพูดเป็นคำๆ เช่น ถ้าผู้สอนพูด คำว่า “รัก” ผู้เรียนยืนขึ้น คำว่า “ลัก” ผู้เรียนนั่งลง ขั้นระดมพลังความคิด 3. ให้ผู้เรียนหาคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นตัว ร ล ว ให้มากที่สุดภายในเวลาที่กำหนดให้ ทำในใบงานหรือเขียนบนกระดานแข่งขันเป็นเกม มีคะแนนเป็นตัวกระตุ้นและเสริมแรง

  15. 4. แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มๆ เพื่อสังเกตคำควบกล้ำ จากแถบบัตรคำที่ผู้สอนแจกให้ ต่อไปนี้ ขวา ขา วา ครัว รัว คัว กวาง กาง วาง ปลา ปา ลา ผู้สอน ผู้เรียนสนทนา อภิปรายเพื่อนำไปสู่คำควบกล้ำตามประเด็น ต่อไปนี้ - ลักษณะของคำ - การออกเสียงแต่ละคำ ฯลฯ

  16. 5. ผู้เรียนเปรียบเทียบคำควบกล้ำแท้ และไม่แท้ จากแผนภูมิว่ามีเสียงแตกต่างกันอย่างไร

  17. 6. ผู้เรียนร่วมกันสรุปลักษณะของคำควบกล้ำแท้และคำควบกล้ำไม่แท้ 7. ผู้เรียนแต่ละคนค้นหาคำควบกล้ำในหนังสือ และจดบันทึก ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม เพื่อสร้างสรรค์ผลงาน เช่น หนังสือเล่ม เล็ก แผ่นพับ ฯลฯ กลุ่มละ 1 ชิ้นงาน ดังนี้ แต่งประโยค เขียนนิทาน เขียนบทร้อยกรอง ปริศนาคำทาย

  18. ขั้นนำเสนอผลงาน 8. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน เพื่อให้เพื่อนร่วมวิพากษ์ วิจารณ์ และปรับปรุงผลงานให้สมบูรณ์ ขั้นการวัดและประเมินผล 9. ผู้สอนและเพื่อนนักเรียนร่วมกันประเมินผลงานที่นำเสนอ

  19. ขั้นเผยแพร่ผลงาน 10. ผู้เรียนนำเสนอผลงานจัดนิทรรศการ จัดแสดงป้ายนิเทศ นำผลงานไปอ่านตามที่ต่างๆ นำผลงานไปให้ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ชื่นชมหรือนำผลงานไปลงวารสารของโรงเรียน สื่อการสอน 1. สื่อการสอน 2. ใบความรู้ หนังสือเรียน 3. เพลง

  20. บรรณานุกรม สุคนธ์ สินธพานนท์. สุดยอด วิธีสอน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : อักษร เจริญทัศน์, 2550. www.onec.go.th/ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา www.creativitycenter.co.th/ ศูนย์ความคิดสร้างสรรค์

More Related