1 / 29

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น. ประพจน์. หมายถึง ประโยคหรือข้อความที่ใช้สำหรับบอกค่าความเป็นจริงหรือเท็จเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ส่วนประโยคหรือข้อความที่ไม่สามารถบอกค่าความจริงหรือเป็นเท็จได้จะไม่เรียกว่า ประพจน์. ตัวอย่างของประโยคหรือข้อความที่เป็นประพจน์. ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก

dafydd
Download Presentation

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

  2. ประพจน์ หมายถึง ประโยคหรือข้อความที่ใช้สำหรับบอกค่าความเป็นจริงหรือเท็จเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ส่วนประโยคหรือข้อความที่ไม่สามารถบอกค่าความจริงหรือเป็นเท็จได้จะไม่เรียกว่า ประพจน์

  3. ตัวอย่างของประโยคหรือข้อความที่เป็นประพจน์ • ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก • สุนัขมี 4 ขา • ประเทศไทยมีชายแดนติดกับประเทศอินเดีย • เดือนมกราคมมี 30 วัน

  4. ตัวอย่างของประโยคหรือข้อความที่ไม่เป็นประพจน์ • ห้ามเดินลัดสนาม • กรุณาปิดไฟก่อนออกจากห้อง • เธอกำลังจะไปไหน • เขาเป็นนักฟุตบอลทีมชาติไทย • Y + 5 = 8

  5. ประโยคเปิด คือ ประโยคหรือข้อความที่มีค่าตัวแปรอยู่ในประโยค และยังไม่สามารถทราบค่าความจริง ถ้าทำการแทนค่าตัวแปรนั้นด้วยค่าบางอย่าง จากนั้นทำให้ประโยคหรือข้อความนั้นมีค่าออกมาเป็นจริงหรือเป็นเท็จ

  6. ตัวอย่าง • Y + 5 = 8 ถ้าแทนค่าของ Y ด้วย 3 ประโยคนี้จะมีค่าออกมาเป็นจริง ถ้าแทนค่าของ Y ด้วย ตัวเลขอื่น ประโยคนี้จะมีค่าออกมาเป็นเท็จ

  7. ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ • ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ใช้สำหรับกรณีที่ต้องการเชื่อมประพจน์มาก ว่า 1 ประพจน์เข้าด้วยกัน เรียกว่า ประพจน์เชิงประกอบ • ส่วนประพจน์ที่ไม่มีตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ เรียกว่า ประพจน์เดี่ยว • สัญลักษณ์ที่ใช้สำหรับเป็นตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์มีดังต่อไปนี้

  8. สัญลักษณ์ตัวเชื่อม

  9. ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ • ในทางตรรกศาสตร์เพื่อความสะดวกสำหรับการศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของตัวเชื่อม ทางตรรกศาสตร์ • นิยมแทนแต่ละประพจน์ด้วยตัวอักษร P,Q,R และใช้ T (True) และ F (False) แทนค่าของผลลัพธ์ที่ได้จากประพจน์เป็นจริงและเป็นเท็จ

  10. ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ • ถ้า P แทนประพจน์ "วันนี้อากาศร้อน" • ถ้า Q แทนประพจน์ "วันนี้ฝนตก"

  11. การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม "และ" • ถ้า p และ q เป็นประพจน์ จะเรียกประพจน์ “p และ q ” ว่าประพจน์แบบรวมผล(conjunction) ของ p กับ q เขียนแทนด้วย “pq”

  12. ตารางค่าความจริงที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ "และ"

  13. การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม“หรือ" • ถ้า p และ q เป็นประพจน์ จะเรียกประพจน์ “p หรือ q ” ว่าประพจน์แบบเลือก(Disjunction) ของ p กับ q เขียนแทนด้วย “pq”

  14. ตารางค่าความจริงที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ “หรือ"

  15. การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ถ้า…….แล้ว” • ถ้า p และ q เป็นประพจน์ จะเรียกประพจน์ “p และ q ” ว่าประพจน์แบบเงื่อนไข(Conditional) ของ p กับ q เขียนแทนด้วย “pq”

  16. ตารางค่าความจริงที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ “ถ้า…แล้ว”

  17. การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ …….ก็ต่อเมื่อ…….” • ถ้า p และ q เป็นประพจน์ จะเรียกประพจน์ “p และ q ” ว่าประพจน์แบบเงื่อนไขสองทาง(Biconditional) ของ p กับ q เขียนแทนด้วย “pq”ซึ่งเป็นประพจน์ที่มีความหมายเหมือนกันกับ • (pq) (qp)= pq

  18. ตารางค่าความจริงที่ได้จากตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ “…….ก็ต่อเมื่อ…….”

  19. นิเสธของประพจน์ • ถ้า p เป็นประพจน์นิเสธ(Negation or Denial) ของประพจน์ p คือประพจน์ที่มีค่าความจริงตรงกันข้ามกับประพจน์ p เขียนแทนด้วย p

  20. ประพจน์ที่ประกอบด้วยหลายตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ การหาค่าความจริงของประพจน์ที่ประกอบด้วยหลายตัวเชื่อมทาง ตรรกศาสตร์ สามารถทำได้โดยใช้ตารางค่าความจริง เช่น p(pq) (pq) r

  21. การเขียนตารางค่าความจริงการเขียนตารางค่าความจริง • จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ p( pq)

  22. แบบฝึกหัด • จงเขียนตารางค่าความจริงของ • 1.(~Q^R) v (R^~S) • 2.(~Q^R)<-->(Q^R) • 3.((~Q^R)<-->(Q^R) )->Q

  23. การหาค่าความจริงโดยไม่ใช้ตารางความจริง การหาค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบ นอกจากหาค่าโดยใช้ตารางค่าความจริงในการหาค่าความจริง ยังสามารถทำได้อีกวิธีหนึ่ง คือ การแทนค่าความจริงของแต่ละประพจน์ย่อยลงไป แล้วทำการพิจารณาการกระทำของตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ เพื่อนำมาหาค่าความจริงของประพจน์เชิงประกอบนั้น

  24. ตัวอย่าง • ตัวอย่าง จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ คือ (P^~R)-->(R<-->Q) เมื่อประพจน์ P และ ประพจน์ Q มีค่าความจริงเป็นจริงและประพจน์ R มีค่าความเป็นจริงเป็นเท็จ

  25. ตัวอย่าง (P^~R)-->(R<-->Q) T F F T T T F T T F T

  26. แบบฝึกหัด • จงหาคำตอบของประพจน์ประกอบ ต่อไปนี้ • 1.กำหนดให้ p และ s เป็นจริง , q และ r เป็น เท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ • 1.1 (P^Q) v R • 1.2 P v Q R v S • 1.3 ((Rv~Q)(~SvR))<-->((Q^S)  (QvR))

  27. ประพจน์สัจนิรันดร์ คือ ประพจน์ที่ประกอบด้วยค่าความจริงที่เป็นจริงในทุกกรณี ตัวอย่างเช่น ประพจน์เชิงประกอบที่ประกอบด้วยประพจน์ย่อย 2 ประพจน์ กรณีที่สามารถเป็นไปได้ คือ 4 กรณี โดยที่ทุกกรณีจะให้ค่าความจริงออกมาเป็นจริงทั้งหมด

  28. ประพจน์สัจนิรันดร์(ต่อ)ประพจน์สัจนิรันดร์(ต่อ) • จงทำการตรวจสอบว่าประพจน์ P-->(QvP) เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

  29. แบบฝึกหัด • จงทำการตรวจสอบว่าประพจน์ ดังต่อไปนี้เป็น ประพจน์สัจนิรันดร์ หรือไม่ 1.(P-->(QvR))v(Q<-->(P^R)) 2.(P<-->(QvR))v(T-->(P^R))

More Related