1 / 48

พัชนี อินทร ลักษณ์

“แนวทางการวิจัย ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย”. พัชนี อินทร ลักษณ์. ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย ภายใต้คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ.

dai
Download Presentation

พัชนี อินทร ลักษณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “แนวทางการวิจัย ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย” พัชนี อินทรลักษณ์ ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย ภายใต้คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ โครงการเสวนาเรื่องแนวทางพัฒนาการวิจัยภายใต้กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย”25 พ.ค. 2555

  2. หัวข้อนำเสนอ 1. ที่มาของ พรบ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551 2. กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย 3. โจทย์วิจัยด้านอาหารของประเทศไทย คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  3. การดำเนินงานตลอดห่วงโซ่อาหารในปัจจุบันการดำเนินงานตลอดห่วงโซ่อาหารในปัจจุบัน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 เพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ประมง ขนส่ง ฆ่า เชือด แหล่ง รวบรวม แปร สภาพ เบื้องต้น ขนส่ง แปรรูป ขนส่ง จัดเก็บ จำหน่าย ปรุงจำหน่าย โฆษณา & บริโภค นำเข้า กระทรวง สาธารณสุข กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กระทรวง พาณิชย์ กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวง การต่างประเทศ กระทรวง มหาดไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มากกว่า 30 หน่วยงาน !! กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มากกว่า 30 ฉบับ !! ขาดความเป็นเอกภาพ ในการดำเนินงาน คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  4. กลาโหม คลัง ต่างประเทศ พัฒนาสังคมฯ อุตสาหกรรม สาธารณสุข พาณิชย์ มหาดไทย วิทยาศาสตร์ฯ ศึกษาธิการ เกษตรฯ สภาพัฒน์ สนง.สุขภาพ แห่งชาติ สนง.คณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค สภาความมั่นคง แห่งชาติ พ.ร.บ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ.2551 ครอบคลุม ความมั่นคง ทางอาหาร (Food Security) ความปลอดภัยอาหาร (Food Safety) คุณภาพอาหาร (Food Quality) อาหารศึกษา (Food Education) เชื่อมโยง 11 กระทรวง กว่า 30 หน่วยงาน / พ.ร.บ.กว่า 30 ฉบับ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  5. องค์ประกอบของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติองค์ประกอบของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ เลขานุการฯ : อย. และ มกอช. ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 ท่าน กลาโหม คลัง ต่างประเทศ พัฒนาสังคมฯ อุตสาหกรรม สาธารณสุข พาณิชย์ มหาดไทย วิทยาศาสตร์ฯ ศึกษาธิการ เกษตรฯ สภาพัฒน์ สนง.สุขภาพ แห่งชาติ สนง.คณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค สภาความมั่นคง แห่งชาติ ประธาน : นายกรัฐมนตรี (หรือรองนายกฯที่ได้รับมอบหมาย) กรรมการ (รัฐมนตรี 11 กระทรวง และเลขาธิการ 4 หน่วยงาน) คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง/คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  6. อำนาจหน้าที่คณะกรรมการอาหารแห่งชาติอำนาจหน้าที่คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ตามาตรา 10 ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ เสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านอาหารของประเทศ ความปลอดภัยอาหาร ความมั่นคงด้านอาหาร คุณภาพอาหาร อาหารศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานตาม นโยบายและยุทธศาสตร์ ประชุมไม่น้อยกว่า ปีละ 2 ครั้ง คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  7. นิยาม “ความมั่นคงด้านอาหาร” ความมั่นคงอาหารจะเกิดขึ้นได้เมื่อประชาชนทุกคน ทุกวัย ในทุกเวลา สามารถเข้าถึงอาหาร ไม่ว่าจะโดยการเสาะหาจากธรรมชาติ การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การซื้อหา หรือการได้รับโดยทางสังคม หรือวัฒนธรรม ทั้งนี้อาหารดังกล่าวต้องมีคุณภาพ ปลอดภัย มีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการตามวัย นำไปสู่การดำรงชีวิตที่ขันแข็งและมีสุขภาวะที่ดี (From FAO: WFS 1996 modified in 2009) คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  8. นิยาม ตามพรบ. คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ความมั่นคงด้านอาหาร หมายความว่าการเข้าถึงอาหารที่มีอย่างเพียงพอสำหรับการบริโภคของประชาชนในประเทศ อาหารมีความปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมตามความต้องการ ตามวัยเพื่อการมีสุขภาวะที่ดี รวมทั้ง การมีระบบการผลิตที่เกื้อหนุน รักษาความสมดุลของระบบนิเวศวิทยา และความคงอยู่ของฐานทรัพยากรอาหารทางธรรมชาติของประเทศ ทั้งในภาวะปกติหรือเกิดภัยพิบัติ สาธารณภัยหรือ การก่อการร้ายอันเกี่ยวเนื่องจากอาหาร 8 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  9. นิยาม ตามพรบ. คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ความปลอดภัยด้านอาหาร หมายความว่าการจัดการให้อาหาร และสินค้าเกษตรที่นำมา เป็นอาหารบริโภคสำหรับมนุษย์มีความปลอดภัย คุณภาพอาหาร หมายความว่าอาหารที่มีคุณลักษณะทางกายภาพและ ส่วนประกอบที่พึงจะมี รวมถึงมีคุณค่าทางโภชนาการ ที่เหมาะสม 9 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  10. นิยาม ตามพรบ. คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551 อาหารศึกษา หมายความว่ากระบวนการส่งเสริม พัฒนา และวิจัย เพื่อให้ความรู้ ความตระหนัก และพฤติกรรมที่ถูกต้อง ในห่วงโซ่อาหารและในการบริโภคด้านอาหาร 10 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  11. ผลการดำเนินงาน ของคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ การจัดทำ “กรอบยุทธศาสตร์การจัดการ ด้านอาหารของประเทศไทย” คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ เมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2553 มติคณะรัฐมนตรีมอบหมายงาน ดังนี้ • ให้สภาพัฒน์ฯนำกรอบยุทธศาสตร์ผนวกเข้ากับแผนพัฒนา • เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 • ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนกิจกรรมให้สอดคล้องกับกรอบ • ยุทธศาสตร์และ รายงานผลการปฏิบัติงานในที่ประชุมต่อ • คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่องเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การประชุมคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ เมื่อวันที่ 30 พ.ย. 2554 ชุดที่ 1คณะกรรมการด้านความมั่นคงอาหารตลอดห่วงโซ่ ชุดที่ 2 คณะกรรมการด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ชุดที่ 3คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความเชื่อมโยง ด้านอาหารและโภชนาการ สู่คุณภาพชีวิตที่ดี ชุดที่ 4คณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  12. หัวข้อนำเสนอ 1. ที่มาของ พรบ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551 2. กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย 3. โจทย์วิจัยด้านอาหารของประเทศไทย คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  13. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคาม W O จุดแข็ง (Strength) 1. ทรัพยากรในการผลิตอุดมสมบูรณ์คุณภาพเป็นที่ยอมรับ ระดับโลก 2. ภาคเกษตร และอาหารมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคงของประเทศ 3. อาหารไทยมีเอกลักษณ์และมีวัฒนธรรมเป็นจุดขาย 4. อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จุดอ่อน (Weakness) 1. ขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน 2. ผู้ผลิตและเกษตรกรรายย่อยขาดปัจจัยการผลิต 3. ขาดการบำรุงรักษาทรัพยากรการผลิต 4. การลงทุนด้านวิจัยของรัฐต่ำ 5. Logisticขาดประสิทธิภาพ 6. ผู้บริโภคขาดความตระหนัก S โอกาส (Opportunity) 1.ตลาดต้องการอาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และมีโภชนาการ อย่างต่อเนื่อง 2. มีภาพลักษณ์เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของโลก 3. อาหารเป็นสิ่งจำเป็น ต้องการสูงในภาวะวิกฤต 4. ที่ตั้งของประเทศเอื้อต่อการค้า 5. มีการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรใหม่ๆในการเกษตรและอาหาร ภัยคุกคาม (Threat) 1. เกษตรกรลดลง และ ขาดเกษตรกรรุ่นใหม่ 2. มีภัยคุกคามใหม่ เช่น โลกร้อน โรคพืช/สัตว์อุบัติใหม่ 3 มีคู่แข่งในตลาดโลกมากขึ้น 4. ประเทศคู่ค้ามีมาตรการที่เป็นอุปสรรคทางการค้า 5. พื้นที่ปลูกพืชไม่ใช่อาหารขยายตัวแย่งชิงพื้นที่พืชอาหาร T 13 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  14. S จุดแข็ง (Strength) 1. ทรัพยากรในการผลิตอุดมสมบูรณ์คุณภาพเป็นที่ยอมรับ ระดับโลก 2. ภาคเกษตร และอาหารมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและความมั่นคงของประเทศ 3. อาหารไทยมีเอกลักษณ์และมีวัฒนธรรมเป็นจุดขาย 4. อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 14 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  15. W จุดอ่อน (Weakness) 1. ขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน 2. ผู้ผลิตและเกษตรกรรายย่อยขาดปัจจัยการผลิต 3. ขาดการบำรุงรักษาทรัพยากรการผลิต 4. การลงทุนด้านวิจัยของรัฐต่ำ 5. Logisticขาดประสิทธิภาพ 6. ผู้บริโภคขาดความตระหนัก 15 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  16. O โอกาส (Opportunity) 1.ตลาดต้องการอาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และ มีโภชนาการอย่างต่อเนื่อง 2. มีภาพลักษณ์เป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของโลก 3. อาหารเป็นสิ่งจำเป็น ต้องการสูงในภาวะวิกฤต 4. ที่ตั้งของประเทศเอื้อต่อการค้า 5. มีการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรใหม่ๆในการเกษตร และอาหาร 16 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  17. T ภัยคุกคาม (Threat) 1. เกษตรกรลดลง และ ขาดเกษตรกรรุ่นใหม่ 2. มีภัยคุกคามใหม่ เช่น โลกร้อน โรคพืช/สัตว์อุบัติใหม่ 3 มีคู่แข่งในตลาดโลกมากขึ้น 4. ประเทศคู่ค้ามีมาตรการที่เป็นอุปสรรคทางการค้า 5. พื้นที่ปลูกพืชไม่ใช่อาหารขยายตัวแย่งชิงพื้นที่พืชอาหาร 17 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  18. กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย (พรบ. คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ) • ความมั่นคงอาหาร • คุณภาพอาหาร • ความปลอดภัยอาหาร • อาหารศึกษา • แนวคิดการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ • สร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน • เป็นแผนชี้นำ • บูรณาการการดำเนินงาน • มีการวิเคราะห์จุดเสี่ยง • มีหลักฐานทางวิชาการสนับสนุน • เกิดความยั่งยืน แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานในประเทศ แผนยุทธศาสตร์ด้านอาหารของต่างประเทศ • การวิเคราะห์สถานการณ์ • SWOT Analysis • อาเซียน • ญี่ปุ่น • อังกฤษ • ออสเตรเลีย • แคนาดา • สหภาพยุโรป • ฯลฯ • สภาพัฒน์ฯ • สาธารณสุข • เกษตรและสหกรณ์ • อุตสาหกรรม • พาณิชย์ • ฯลฯ กรอบยุทธศาสตร์ด้านอาหาร วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 ด้านความมั่นคงอาหาร จำเป็นต้องมีงานวิจัยใหม่ๆสนับสนุนเพิ่มเติม 2 ด้านคุณภาพ & ความปลอดภัยอาหาร 3 ด้านอาหารศึกษา 4 ด้านการบริหารจัดการ ครอบคลุมตลอดห่วงโซ่/ เชื่อมโยงระดับนานาชาติ ประเทศ ชุมชน และครัวเรือน คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  19. มิติด้านอาหารและสุขภาพมิติด้านอาหารและสุขภาพ • ส่งเสริม • ป้องกัน • บำบัดรักษา • ฟื้นฟู • การเกษตร • แหล่งอาหาร • การบริการ โภชนาการ อาหาร สุขภาพ • การผลิตอาหารที่มุ่งหมาย • เพื่อโภชนาการและสุขภาพ • อาหารมนุษย์ อาหารสัตว์ • และพืชพลังงาน • การเปลี่ยนแปลง • สภาพภูมิอากาศ • ปัจจัยภายนอก คุณภาพ ความปลอดภัยอาหาร (มีผลต่อผู้บริโภค และการค้า) ความต้องการสารอาหาร การบริโภคอาหาร ภาวะโภชนาการที่ดี ความรู้ด้านโภชนาการ อาหารมีคุณภาพ และปลอดภัย สุขภาวะที่ดี ความมั่นคงด้านอาหาร อาหารและโภชนศึกษา วัฒนธรรมด้านอาหาร 19 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  20. แผนภูมิ ห่วงโซ่อาหาร อาหาร ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ ผลลัพธ์ หลักเกณฑ์วิธีการที่ดี ในการผลิต หลักปฏิบัติที่ดี หลักปฏิบัติที่ดีด้านสุขลักษณะ การผลิตทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์ (พันธุกรรม) โภชนาการสำหรับพืชและสัตว์ การควบคุมและการป้องกันโรคพืชและสัตว์ ประเด็นพื้นฐาน การใช้ที่ดิน การจัดการน้ำ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  21. กรอบยุทธศาสตร์การจัดการกรอบยุทธศาสตร์การจัดการ ด้านอาหารของประเทศไทย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการฐานทรัพยากรการผลิตให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน 2. เพื่อให้อาหารที่ผลิตในครัวเรือน ชุมชน และภาคอุตสาหกรรมมีเพียงพอ มีคุณภาพ ปลอดภัยและมีคุณค่าโภชนาการ 3. เพื่อสร้างกระบวนการศึกษาค้นคว้า วิจัย และเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับอาหารตลอดห่วงโซ่ 4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านอาหารให้มีประสิทธิภาพ (โครงสร้างกฎหมาย ระบบสารสนเทศ และอื่นๆ) 5. เพื่อเกิดความมั่นคงด้านอาหารระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ ทั้งภาวะปกติและวิกฤต วิสัยทัศน์ ประเทศไทยผลิตอาหาร ที่มีคุณภาพและปลอดภัย มีความมั่นคงด้านอาหารอย่างยั่งยืน เพื่อชาวไทยและชาวโลก ยุทธศาสตร์ (รวม 4 ยุทธศาสตร์, 24 กลยุทธ์, 103 แนวทาง) ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคงอาหาร (10 กลยุทธ์ 41 แนวทาง) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ( 6 กลยุทธ์ 33 แนวทาง) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านอาหารศึกษา ( 5 กลยุทธ์ 17 แนวทาง) ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการ ( 3 กลยุทธ์ 12 แนวทาง) คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  22. ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคงอาหาร 10 กลยุทธ์ : 1. เร่งรัดปฏิรูปการถือครองที่ดินและการคุ้มครองพื้นที่การเกษตร 2. จัดการทรัพยากรน้ำ และดินเพื่อการเกษตร และป่าชุมชน 3. สร้างความสมดุลระหว่างพืชอาหารกับพืชพลังงาน 4. พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตอาหาร 5. สร้างแรงจูงใจในการทำการเกษตร และเพิ่มจำนวนเกษตรกรรุ่นใหม่ 6. ส่งเสริมการเข้าถึงอาหารในระดับชุมชนและครัวเรือน 7. ปรับปรุงและพัฒนาระบบโลจิสติกส์ด้านสินค้าเกษตรและอาหาร 8. สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชนในการ รักษาความมั่นคงด้านอาหาร 9. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่อาหาร 10. จัดระบบเพื่อรองรับความมั่นคงด้านอาหารในภาวะวิกฤต 22 22 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  23. ส่งเสริมการเข้าถึงอาหาร • ของชุมชนและครัวเรือน • ปฏิรูป • สร้างสมดุล • อนุรักษ์ • เพิ่มประสิทธิภาพ • การบริหารจัดการ • พัฒนาระบบโลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคงอาหาร หลักการ :เพื่อให้ประเทศไทยมีความมั่นคงด้านอาหารอย่างยั่งยืน บริหารจัดการ ทรัพยากรเพื่อการผลิตอาหารอย่างมีประสิทธิภาพโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ฐานทรัพยากร/ ปัจจัยการผลิต การกระจาย การผลิต • พัฒนาประสิทธิภาพ • การผลิต • กำหนดเขตการผลิต • สร้างแรงจูงใจให้เกษตรกร วิจัยพัฒนาเทคโนโลยี/ นวัตกรรม สร้างระบบรองรับในภาวะวิกฤต สร้างความร่วมมือในการรักษาความมั่นคงด้านอาหาร (รัฐ เอกชน และภาคประชาชน) คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  24. ยุทธศาสตร์ที่ 2 คุณภาพและความปลอดภัยด้านอาหาร 6 กลยุทธ์ : 1. สร้างมาตรฐานด้านความปลอดภัยอาหารให้เป็นมาตรฐานเดียว และ ส่งเสริมการบังคับใช้ 2. พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรขั้นต้น (Primary Product) ให้มีคุณภาพ และความปลอดภัยตามมาตรฐานและคุณค่าทางโภชนาการเพิ่มขึ้น 3. เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคการผลิตในระดับชุมชน (Community based) เพื่อป้องกันการสูญเสียและเพิ่มมูลค่าเบื้องต้นให้กับผลผลิต 4. เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคการผลิตในระดับอุตสาหกรรม (Industrial based) ทุกระดับ 5. ส่งเสริมการค้าและการตลาดผลิตภัณฑ์มาตรฐานทั้งที่มาจากการผลิตใน ระดับชุมชนและอุตสาหกรรม 6. เสริมสร้างความเข้มแข็งในการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยของ อาหารของประเทศ 24 24 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  25. ยุทธศาสตร์ที่ 2 คุณภาพและความปลอดภัยด้านอาหาร หลักการ :ดูแลคุณภาพและความปลอดภัยอาหารในห่วงโซ่อาหารเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค และการค้าทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งเป็นพื้นฐานของการแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกร และผู้ที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมการค้า/ การตลาด สร้างความเป็นธรรม และอำนวยความสะดวกในการค้า เสริมสร้างความเข้มแข็งในการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย มาตรฐานอาหาร - มีคุณภาพ - มีความปลอดภัย - มีคุณค่าทางโภชนาการ สร้างระบบประกันคุณภาพ เช่น ระบบตรวจสอบรับรองและห้องปฏิบัติการ สร้างมาตรฐานความปลอดภัยให้เป็น มาตรฐานเดียว การผลิตอาหาร ในระดับชุมชน ภาคอุตสาหกรรม อาหาร การผลิตขั้นต้น • วิจัย/พัฒนาพันธุ์/GAP • ฟาร์มต้นแบบ • รวมกลุ่มเกษตรกร • Food educator • วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้/นวัตกรรม • แปรรูป/ ถนอมอาหาร/ลดการสูญเสีย • วัฒนธรรมท้องถิ่น • ยกระดับ/แหล่ง สถานีรวบรวม • เสริมสร้างความเข้มแข็ง • ยกระดับการผลิต • สร้างมูลค่าเพิ่ม • เพิ่มขีดความสามารถสู่สากล คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  26. การนำยุทธศาสตร์ด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร สู่การปฏิบัติ อาหารปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ การเฝ้าระวัง ความ ปลอดภัย โภชนาการ&สุขภาพดี อุปทาน การบริการ การ บริโภค ►ภัตตาคาร ►ร้านอาหาร ►รถเร่/รถเข็น ►โรงเรียน ►ครอบครัว ►ตลาดสด/ร้านชำ คุณภาพ/ความหลากหลาย ►ผลิตในประเทศ / อาหารนำเข้า - Primary Product - OTOP - Industrial ►การเข้าถึง ►ความรู้ ►พฤติกรรม - การกิน/สุขอนามัย - วิถีชีวิต/ออกกำลังกาย การผลิต บนพื้นฐานของข้อมูลข่าวสาร มาตรฐาน และองค์ความรู้ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  27. ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านอาหารศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 2 คุณภาพและความปลอดภัยด้านอาหาร 5 กลยุทธ์: 1. ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือ และบูรณาการของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในเรื่องอาหารศึกษา 2. สนับสนุนให้มีการวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ด้านอาหารได้ 3. ให้มีการจัดการองค์ความรู้ในเรื่องอาหารศึกษา และเผยแพร่ ความรู้ทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่อง 4. ส่งเสริมให้เกษตรกร และชุมชนมีความรู้ด้านอาหารศึกษา อย่างเหมาะสม 5. ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมของบุคคล และชุมชน 27 27 27 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  28. ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านอาหารศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 2 คุณภาพและความปลอดภัยด้านอาหาร หลักการ :เน้นกระบวนการส่งเสริมพัฒนา และวิจัยเพื่อให้เกิดความรู้ ความตระหนัก ในการใช้ทรัพยากรเพื่อผลิตและกระจายอาหารในห่วงโซ่อาหาร ตลอดจนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในการ บริโภคอาหาร วิจัยพัฒนา ผลลัพธ์ • การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ • การรวบรวมองค์ความรู้ หลักปฏิบัติที่ดี • เผยแพร่องค์ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้อง • การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ พื้นฐาน ถ่ายทอดความรู้ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  29. ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการบริหารจัดการ หลักการ: พัฒนาการจัดการด้านอาหารของประเทศตลอดทั้งห่วงโซ่อาหารอย่างเป็นระบบให้มีความเหมาะสม สร้างความเข้มแข็งของการดำเนินงานทุกภาคส่วน ให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ รองรับภัยคุกคามต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และสอดคล้องกับกติกาการค้าสากล • พัฒนา/ปรับปรุง กฎหมาย • ที่เกี่ยวข้องด้านอาหาร • ติดตาม/ประเมิน อุปสรรคจากการใช้กฎหมาย • ส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมาย • สนับสนุนการเชื่อมโยง/ • ใช้ประโยชน์ข้อมูล • ระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศด้านอาหาร • พัฒนาระบบเตือนภัยด้านอาหาร 1. ปรับปรุง และ เสริมความเข้มแข็ง โครงสร้างองค์กร ในห่วงโซ่ 3. พัฒนาฐานข้อมูลและการจัดการ • ทบทวนภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • สร้างกลไกเชื่อมโยงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • สนับสนุนการกระจาย/มอบหมายอำนาจให้ครอบคลุม 2. พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย ในห่วงโซ่ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  30. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • (1) มีฐานทรัพยากรในการผลิตอาหารที่สมบูรณ์และยั่งยืน • (2) ชุมชนเกษตรกรมีการผลิตอาหารที่เข้มแข็ง มีระบบเศรษฐกิจและการ • จัดการอาหารที่เป็นธรรม สร้างรายได้ให้แก่เศรษฐกิจของประเทศและ • ท้องถิ่น • ผู้บริโภคเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพ และปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ • มีกลไกและระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพประสิทธิผล ตอบสนองได้ • ทั้งภาวะปกติและภาวะวิกฤติ • สร้างความเชื่อมั่นให้กับอาหารส่งออก เพิ่มศักยภาพและขยายโอกาส • ด้านการตลาดผ่านทางวัฒนธรรมและคุณค่าทางโภชนาการ 30 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  31. หัวข้อนำเสนอ 1. ที่มาของ พรบ.คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551 2. กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย 3. โจทย์วิจัยด้านอาหารของประเทศไทย คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  32. ประเด็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเด็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ด้านความมั่นคงอาหาร • 1. การจัดการที่ดิน และคุณภาพที่ดินเพื่อการผลิตอาหาร • 2. การจัดการน้ำ ป่าไม้ และป่าชายเลน เพื่อการผลิตอาหาร • 3. ความสมดุลระหว่างพืชอาหาร (คนและสัตว์) และพืชพลังงาน • 4. การวิจัยนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ • การผลิตอาหาร พันธุ์พืช/พันธุ์สัตว์ โภชนาการพืช/สัตว์ การควบคุมป้องกันโรค การลดการสูญเสียอาหาร เทคโนโลยีการผลิตอาหาร รวมถึงเครื่องจักรกล คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  33. ประเด็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเด็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ด้านความมั่นคงอาหาร • 5. การเพิ่มมูลค่าและคุณค่าของอาหาร ทั้งในระดับครัวเรือน • ชุมชน และอุตสาหกรรม • 6. ความเชื่อมโยงของการผลิตอาหารและการตลาด • 7. ความมั่นคงอาหารในระดับครัวเรือนและชุมชน • 8. การพัฒนากำลังคนเพื่อการผลิตอาหาร • 9. การสร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วน • 10. การบริหารจัดการด้านอาหาร • ในภาวะวิกฤต คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  34. ประเด็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเด็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร • 1. การสร้างมาตรฐานด้านความปลอดภัยให้เป็นมาตรฐานเดียว • ตลอดห่วงโซ่ • 2. การใช้มาตรฐานสู่การปฏิบัติ ทั้งระดับ การผลิตขั้นต้น ผลิตภัณฑ์ • อาหารระดับชุมชนและระดับอุตสาหกรรม และการพัฒนายกระดับ • ผู้ผลิตและผู้ประกอบการให้เข้าสู่มาตรฐานตลอดห่วงโซ่ • 3. การยกระดับมาตรฐานสถานบริการอาหารเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ส่งเสริมการท่องเที่ยว และเผยแพร่วัฒนธรรมอาหาร • 4. การเสริมสร้างความเข้มแข็งในการกำกับดูแลสินค้าอาหารนำเข้า • 5. การปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบการจัดการและควบคุมสารเคมีและยาที่ใช้ในการเกษตร เพื่อความปลอดภัยของมนุษย์ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  35. ประเด็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเด็นการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร • 6. การส่งเสริมการใช้ตราสัญลักษณ์ด้านคุณภาพและความปลอดภัย • อาหาร เพื่อสร้างความมั่นใจผู้บริโภค ทั้งในและต่างประเทศ • 7. ระบบการตรวจสอบรับรองตลอดห่วงโซ่ • 8. การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยอาหาร • 9. การบูรณาการระบบบริหารจัดการความปลอดภัยอาหารในระดับ • จังหวัด ท้องถิ่น และชุมชน • 10. การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  36. ประเด็นขับเคลื่อนเพื่อสร้างความเชื่อมโยงด้าน อาหารและ โภชนาการ สู่คุณภาพชีวิตที่ดี 1. มาตรฐานและเครื่องชี้วัดทางโภชนาการ และของโรคที่เกี่ยวข้อง 2. ข้อปฏิบัติในการบริโภคอาหารตามวัย (FBDGs) 3. อาหาร และโภชนาการศึกษา และการกำหนดอาหารตามวัย 4. การเพิ่มการบริโภค พืชผัก ผลไม้ 5. การลดการบริโภคหวาน มัน เค็ม 6. รูปแบบการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียน 7. รูปแบบการบูรณาการโภชนาการในพื้นที่ และชุมชน 8. ระบบการเฝ้าระวัง และสำรวจภาวะโภชนาการ และโรคที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  37. หลักการสร้างโจทย์วิจัยด้านความมั่นคงอาหาร เพื่อเสริมสร้างความรู้และปัญญาเพื่อการพัฒนางานและคน • 1. การวิจัยพื้นฐาน อาทิเช่น • พัฒนาพันธุ์พืชและสัตว์ (Genetic Resources) • พัฒนาคุณภาพปัจจัยการผลิต เช่น ดิน แหล่งน้ำ ฯลฯ • 2. การวิจัยและพัฒนา • ตามปัญหา เช่น โรคพืชและโรคสัตว์ การควบคุมป้องกันโรค Organic/IPMฯลฯ • ตามประเด็น เช่น เครื่องจักรกลในการผลิตอาหารLogisticsฯลฯ • ตามพื้นที่และชุมชน (Area & Community Based) • 3. การวิจัยเชิงนโยบายและระบบ • ทรัพยากรการผลิตอาหาร (Resources based) • ความเชื่อมโยงขององค์ประกอบต่างๆ ทางอาหาร เช่น • Production/ Supply/Service / Consumption/ Nutrition & Health • เพิ่มคุณค่า&มูลค่า ของอาหารและผลิตภัณฑ์ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค • และการค้า • นโยบายด้านราคาอาหาร • งานวิจัยที่ได้จากข้อ 1 และ 2 นำมาเสนอเป็นนโยบายได้

  38. งานวิจัยเชิงระบบ การขับเคลื่อนด้านความมั่นคงอาหารในชุมชน การบริการพื้นฐาน (การเกษตร การศึกษา มหาดไทย และอื่นๆ ) ระบบสนับสนุน ทำหน้าที่เกื้อหนุน แนะนำการดำเนินงาน (Facilitator) • เมนู/ กิจกรรม • การจัดการทรัพยากรการผลิต ดิน น้ำ ปุ๋ย • การเพิ่มประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลการผลิต • การเชื่อมโยงการผลิตและตลาด • การเชื่อมโยงการบริโภค/วัฒนธรรม/การท่องเที่ยว • ฯลฯ • การฝึกอบรม • ทุน • การแก้ปัญหาต่างๆ • เกษตรกรพี่เลี้ยง Interface • (หน่วยงานที่จัดหาการบริการ / ผู้นำชุมชน) • เป้าหมาย & แผนการดำเนินงาน • การนำไปปฏิบัติ • การติดตามและประเมินผล ผู้นำชุมชนเข้มแข็ง ครอบครัว ปัจเจกบุคคล อาสาสมัคร สธ./เกษตร (1:10 ครัวเรือน) เป้าหมายและตัวชี้วัด ด้านความมั่นคงอาหารในชุมชน Kraisid Tontisirin, Mahidol University

  39. โจทย์วิจัยด้านอาหาร ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดินและการเช่าที่ดิน  ศึกษาการบริหารจัดการน้ำ  ศึกษาการกำหนดเขตการผลิต (ZONING) พืชอาหารและพืชพลังงาน สร้างนวัตกรรมและนำเทคโนโลยี รวมถึงปัจจัยการผลิตต่างๆ ในห่วงโซ่ อาหารที่เหมาะสม ในแต่ละพื้นที่มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต

  40. โจทย์วิจัยด้านอาหาร • สร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เหมาะสม โดยคำนึงถึง • ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งการดูแลก่อน ระหว่างและหลังการเก็บเกี่ยว เน้น • การดูแลหลังการเก็บเกี่ยว การยืดอายุเก็บรักษา และการสร้าง • มูลค่าเพิ่มในระดับครัวเรือนและชุมชน  ศึกษาโครงสร้างพื้นฐานในการรวบรวมและการกระจายสินค้าเกษตร และอาหาร สร้างตลาดชุมชนที่มีประสิทธิภาพ และเชื่อมโยงกับตลาดชุมชนอื่น เพื่อการรวมพลัง และเสริมการค้าด้านอาหาร และการท่องเที่ยวชุมชน

  41. โจทย์วิจัยด้านอาหาร • ศึกษาพันธุกรรมพืช สัตว์ ประมงเพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรม • และจีโนมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอาหาร • สร้างแผนป้องกันการขาดแคลนวัตถุดิบอาหารและอาหารสัตว์ที่ต้องพึ่งพาการ • นำเข้าสูงอย่างเหมาะสม • วิจัย พัฒนาพันธุ์ และการควบคุมป้องกันโรคในพืช สัตว์ และประมง รวมถึง • คุณภาพดิน น้ำ ปุ๋ย •  สร้างต้นแบบสำหรับการผลิตที่ได้มาตรฐานในระดับฟาร์มเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ • แลกเปลี่ยนและถ่ายทอดการปฏิบัติระหว่างเกษตรกร

  42. โจทย์วิจัยด้านอาหาร • ศึกษาการนำวัฒนธรรมท้องถิ่นด้านอาหารมาสร้างมูลค่าเพิ่ม • ให้เป็นจุดเด่น และจุดขายของผลิตภัณฑ์อาหาร • ศึกษาการนำของเหลือใช้จากการเกษตรไปใช้ประโยชน์ และรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น • ศึกษาแนวโน้มและความต้องการของตลาด ตลอดจนพฤติกรรมของ ผู้บริโภค และกฎเกณฑ์กติกาทางการค้า ศึกษาระบบการตามสอบหรือการตรวจสอบย้อนกลับ

  43. โจทย์วิจัยด้านอาหาร • ศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ ของโลกในด้านต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • สร้างกลไกการรวมกลุ่มของเกษตรกรในชุมชน เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา • การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ด้านอาหารของ ประเทศในทุกมิติ เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดนโยบาย ศึกษาเครื่องชี้วัดพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม

  44. โจทย์วิจัยด้านอาหาร • ประเมินภาวะโภชนาการ อันเป็นผลของพฤติกรรมการบริโภค และ พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เพื่อแก้ไขภาวะโภชนาการที่ไม่ปกติ สร้างระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศด้านอาหาร สร้างเครือข่าย เชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่เดิมจากหน่วยงานต่างๆ ทั่วประเทศ ให้มี ความทันสมัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงข้อมูล และ สะดวก ต่อการนำไปใช้ ศึกษาระบบการเตือนภัยด้านอาหารในมิติต่างๆที่มีอยู่ของหน่วยงาน ต่างๆ เพื่อให้เกิดการเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้เกี่ยวข้อง

  45. พันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาของไทยพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษาของไทย ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ วิจัยและพัฒนา เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

  46. บทบาทของสถาบันอุดมศึกษาบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา ด้านการวิจัยและถ่ายทอดความรู้อาหารในห่วงโซ่อาหาร วิจัยพัฒนา ผลลัพธ์ • การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ • การรวบรวมองค์ความรู้ หลักปฏิบัติที่ดี • เผยแพร่องค์ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้อง • การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ พื้นฐาน ถ่ายทอดความรู้ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  47. สรุป สุขภาพดี ชุมชนแข็งแรง ความมั่นคง ด้านโภชนาการ ความมั่นคง ด้านอาหาร คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

  48. …THANK YOU… 48 คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ

More Related