1 / 57

การบริหารองค์การ (Organization Management)

การบริหารองค์การ (Organization Management). การบริหาร (Management) คืออะไร. Harold Koontz กล่าวว่า “การบริหารคือ การออกแบบและการรักษาสภาพแวดล้อมให้กลุ่มบุคคล หรือกลุ่มผู้ทำงานร่วมกันสามารถร่วมกันทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้”

dalmar
Download Presentation

การบริหารองค์การ (Organization Management)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารองค์การ (Organization Management)

  2. การบริหาร(Management) คืออะไร Harold Koontzกล่าวว่า “การบริหารคือ การออกแบบและการรักษาสภาพแวดล้อมให้กลุ่มบุคคล หรือกลุ่มผู้ทำงานร่วมกันสามารถร่วมกันทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้” Perter Druckerกล่าวว่า “การบริหารคือ ศาสตร์และศิลปะ ในการทำงานให้สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่วางไว้โดยอาศัยฝีมือบุคคลอื่น”

  3. ระดับชั้นการบริหาร 3 ระดับ คือ • ผู้บริหารระดับสูง(Top Management) • ผู้บริหารระดับกลาง(Middle Management) • ผู้บริหารระดับต้น(First Level Supervisor)

  4. ทักษะการบริหาร(Managerial Skills) Robert L. Katzได้จำแนกทักษะทางการบริหารไว้ 3 ประเภท Harold Koontzได้เพิ่มเติมทักษะที่ 4 ไว้ในทฤษฎีของKatzดังนี้ • ทักษะการช่าง(Technical Skill) • ทักษะในเรื่องของคน(Human Skill) • ทักษะความคิดเชิงวิเคราะห์(Conceptual Skill) • ทักษะการแก้ปัญหา(Design Skill)

  5. หน้าที่ของการบริหาร(Management Functions) ผู้บริหารจะต้องปฏิบัติหน้าที่เบื้องต้นที่สำคัญ 5 อย่าง คือ • การวางแผน(Planning) • การจัดองค์การ(Organizing) • การจัดคนเข้าทำงาน(Staffing) • การสั่งการ(Directing) • การควบคุม(Controlling)

  6. 1. การวางแผน (Planning) การวางแผนเป็นการกำหนดภารกิจขององค์การ (Mission) วัตถุประสงค์ (Objective)และวิธีดำเนินการในอนาคต เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจ และบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

  7. กระบวนการวางแผน กระบวนการวางแผนประกอบด้วยขั้นตอน 8 ประการ คือ • การตระหนักถึงโอกาส • การกำหนดวัตถุประสงค์ • พิจารณากรอบการใช้แผนงาน • กำหนดทางเลือกของแผน

  8. กระบวนการวางแผน (ต่อ) 5. เปรียบเทียบทางเลือก 6. เลือกทางเลือก 7. กำหนดแผนสนับสนุน 8. กำหนดงบประมาณการพิจารณาเงินทุนและทรัพยากรที่ต้องใช้

  9. 2. การจัดองค์การ (Organizing) ผู้บริหารจะต้องสร้างองค์การที่เป็นทางการขึ้นมา ที่เขาและพนักงานคนอื่นๆ จะต้องเข้ามาปฏิบัติหน้าที่กิจกรรมดังกล่าว ช่วงการควบคุม (Span of Control)

  10. ช่วงการควบคุม (Span of Control) ช่วงการควบคุมหรือช่วงการบังคับบัญชาเป็นการพิจารณาว่าผู้บริหาร 1 คนควรมีผู้ใต้บังคับบัญชากี่คนจึงจะเหมาะสมกับลักษณะงานนั้น โดยทั่วไปแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. ช่วงของการควบคุมที่แคบ 2. ช่วงการควบคุมที่กว้าง

  11. 1. ช่วงการควบคุมที่แคบ ข้อดี • การกำกับดูแลงานใกล้ชิด • ควบคุมได้ใกล้ชิด • การสื่อสารรวดเร็วระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา

  12. 1. ช่วงการควบคุมที่แคบ (ต่อ) ข้อจำกัด • ผู้บังคับบัญชามีแนวโน้มที่จะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับงานของผู้ใต้บังคับบัญชามาก • ก่อให้เกิดระดับชั้นของฝ่ายบริหารมาก • มีค่าใช้จ่ายสูง เนื่องจากมีลำดับชั้นมาก • ก่อให้เกิดความห่างเหินระหว่างระดับสูงและระดับล่างได้ง่าย

  13. 2. ช่วงการควบคุมที่กว้าง ข้อดี • ผู้บริหารจำเป็นต้องกระจายงาน • จำเป็นต้องกำหนดนโยบายให้ชัดเจน • ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องมีความสามารถสูง

  14. 2. ช่วงการควบคุมที่กว้าง (ต่อ) ข้อจำกัด • ก่อให้เกิดปัญหาที่ผู้บริหารต้องตัดสินใจปัญหาแทบทุกเรื่อง • เสี่ยงต่อการตัดสินใจผิดพลาดได้ง่าย • ผู้บริหารต้องมีความรอบรู้มาก

  15. การจัดแผนกงาน (Departmentation) 1. การจัดในแผนกงานตามหน้าที่หลัก (Departmentation by Function) การจัดกลุ่มงานตามหน้าที่หลัก เช่น ฝ่ายการตลาด ฝ่ายการเงิน ฝ่ายการผลิต ข้อดีของการจัดแผนกงานตามหน้าที่หลัก คือ เป็นการส่งเสริมให้เกิดความชำนาญเฉพาะด้านได้ง่าย ข้อจำกัด คือ หากมีสินค้าที่หลากหลาย อาจไม่สามารถตอบสนองต่อตลาดต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ

  16. การจัดแผนกงาน(Departmentation)(ต่อ)การจัดแผนกงาน(Departmentation)(ต่อ) 2. การจัดแผนกงานตามสายผลิตภัณฑ์หรือบริการ (Department by Product or Service) เป็นการจัดแผนกงานตามประเภทสินค้าหรือบริการ 3. การจัดแผนกงานโดยลูกค้าหรือที่ตั้งสาขา (Department By Customer or Location) ข้อดี คือ สามารถปรับตัวให้เข้ากับท้องถิ่นได้ดีกว่า

  17. การจัดแผนกงาน(Departmentation)(ต่อ)การจัดแผนกงาน(Departmentation)(ต่อ) 4. องค์การแบบเมทริกซ์ (Matrix Organization) เป็นโครงสร้างแบบผสมระหว่างโครงสร้างตามหน้าที่หลักและโครงสร้างตามสายผลิตภัณฑ์

  18. 3. การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) การจัดหาบุคคล (Staffing) การสรรหา (Recruiting) การคัดเลือก (Selecting) การฝึกอบรม (Training) การพัฒนา(Developing) ทรัพยากรมนุษย์

  19. ทักษะของผู้บริหาร ผู้บริหาร คือ บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ต้องรับผิดชอบงานที่ปฏิบัติโดยบุคคลอื่นที่อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของเขา หน้าที่ของผู้บริหาร คือ การทำงานให้สำเร็จโดยใช้บุคคลอื่น

  20. 1. การสรรหาบุคคล (Recruitment) เป็นการแสวงหาและการจูงใจบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมกับตำแหน่งที่ว่างเพื่อให้มารับการคัดเลือก 1.1 ระบบการสรรหาบุคคล (Recruitment System)มี 2 ระบบ

  21. 1. การสรรหาบุคคล (Recruitment) (1) ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) เป็นการสรรหาบุคคลเข้าทำงานโดยไม่ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับความรู้ความสามารถของผู้สมัคร (2) ระบบคุณธรรม (Merit System) เป็นการสรรหาบุคคลเข้าทำงานโดยการพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์

  22. 1. การสรรหาบุคคล (Recruitment) (ต่อ) 1.2 กระบวนการในการสรรหาบุคคล (Recruitment Process)มี 9 ขั้นตอน ดังนี้ (1) องค์การต้องสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อสาธารณชน (2) องค์การต้องกำหนดเกณฑ์ในการรับ (3) การพิจารณาจากใบขอเพิ่มพนักงานของหน่วยงานหรือแผนก (4) การประกาศรับสมัครโดยการลงหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือติดประกาศตามสถานที่ต่างๆ

  23. 1. การสรรหาบุคคล (Recruitment) (ต่อ) (5) การรับสมัคร (6) การคัดเลือก (7) การตรวจสอบรายละเอียดของผู้สมัครอีกครั้ง (8) การตัดสินใจผลคัดเลือก (9) การรับคนเข้าทำงาน

  24. ข้อดีและข้อเสียของแหล่งที่ใช้ในการสรรหาบุคคลเข้าทำงานข้อดีและข้อเสียของแหล่งที่ใช้ในการสรรหาบุคคลเข้าทำงาน

  25. ข้อดีและข้อเสียของแหล่งที่ใช้ในการสรรหาบุคคลเข้าทำงาน(ต่อ)ข้อดีและข้อเสียของแหล่งที่ใช้ในการสรรหาบุคคลเข้าทำงาน(ต่อ)

  26. ข้อดีและข้อเสียของแหล่งที่ใช้ในการสรรหาบุคคลเข้าทำงาน(ต่อ)ข้อดีและข้อเสียของแหล่งที่ใช้ในการสรรหาบุคคลเข้าทำงาน(ต่อ)

  27. ข้อดีและข้อเสียของแหล่งที่ใช้ในการสรรหาบุคคลเข้าทำงาน(ต่อ)ข้อดีและข้อเสียของแหล่งที่ใช้ในการสรรหาบุคคลเข้าทำงาน(ต่อ)

  28. 2. การคัดเลือกบุคคล (Selecting หรือ Selection) 2.1 การคัดเลือกบุคคล (Selection) : การจัดบุคลากรให้เข้ากับ งาน (Matching the person with the job) 2.2 ระบบการคัดเลือก (System approach to selection) 2.3 ความต้องการตำแหน่งและการออกแบบงาน (Position requirements and job design) 2.4 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผน (Factors influencing job design)

  29. 2. การคัดเลือกบุคคล (Selecting หรือ Selection) (ต่อ) 2.5 ทักษะและคุณสมบัติส่วนบุคคลที่ผู้บริหารต้องมี (Skills and personal characteristics need by managers)เพื่อความสำเร็จขององค์การ ผู้บริหารระดับสูง (Top management)จะต้องเป็นผู้ที่มีทักษะทางด้านความคิด (Conceptual skills)ผู้บริหารระดับกลาง (Middle management)ต้องเป็นผู้ที่มีทักษะทางด้านเทคนิคในการทำงาน นอกจากนั้นผู้บริหารจะต้องมีลักษณะส่วนตัวที่สำคัญอีกหลายประการ ดังนี้

  30. ลักษณะส่วนตัวที่สำคัญของผู้บริหารลักษณะส่วนตัวที่สำคัญของผู้บริหาร 1. มีความปรารถนาที่จะบริหารงาน (Desire to manage) 2. มีความสนใจในการสื่อสารและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น (Communication skill and empathy) 3. มีความซื่อตรงและซื่อสัตย์ (Integrity and honesty) 4. มีประสบการณ์การทำงานในฐานะผู้บริหาร (Past performance as a manager)

  31. 4. การสั่งการ (Directing) ทักษะที่สำคัญ 3 ประการ ในการทำให้การสั่งการของผู้บริหารที่มีประสิทธิภาพ 1. การสื่อสาร 2. การจูงใจ 3. ภาวะผู้นำ

  32. 5. การควบคุม (Controlling) การควบคุม ก็คือ การประเมินผลการดำเนินงานต่างๆ ให้เป็นไปตามแผนและเป้าหมายที่ได้วางไว้ ซึ่งจะประกอบขึ้นด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1. กำหนดมาตรฐานของผลงาน 2. วัดค่าผลงานจริง 3. เปรียบเทียบผลงานจริงกับมาตรฐาน 4. มีการแก้ไข

  33. ปัจจัยสู่ความสำเร็จที่สำคัญปัจจัยสู่ความสำเร็จที่สำคัญ (Key Success Factor : KSF) or (Critical Success Factor : CSF)

  34. ปัจจัยสู่ความสำเร็จที่สำคัญปัจจัยสู่ความสำเร็จที่สำคัญ เป็นการวิเคราะห์หาสภาพแวดล้อมภายนอก ระดับมหภาค (STEPG) & จุลภาค (5 Forces) และเน้นไปที่.... • พฤติกรรมผู้บริโภค • กลยุทธ์คู่แข่งขัน • ธรรมชาติของธุรกิจ

  35. 1. สังคมวัฒนธรรม (Social & Culture) • ค่านิยม+ทัศนคติของสังคม • วิถีการดำรงชีวิต • ลักษณะองค์ประกอบของประชากรและแรงงาน • จรรยาบรรณทางการทำงาน • การนับถือศาสนา • ทัศนคติของสังคมต่ออุตสาหกรรม • ลักษณะทางสถานภาพ

  36. 2. เทคโนโลยี (Technology) • การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ • การพัฒนาทางเทคโนโลยี • ของอุตสาหกรรม • ของอุตสาหกรรมทดแทน

  37. แนวโน้มของเศรษฐกิจ -ภายใน-ภายนอกประเทศ การปล่อยสินเชื่อ รายได้ประชาชาติ รายจ่ายประชาชาติ อัตราดอกเบี้ย+อัตราเงินเฟ้อ อัตราภาษีอากร การกระจายรายได้ของประชากร การออมทรัพย์ การว่างงาน ภาวะการลงทุน อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ระดับค่าจ้าง+เงินเดือน 3. เศรษฐกิจ (Economic)

  38. 4. การเมืองและกฎหมาย (Political) • กฎหมาย + ข้อบังคับของรัฐบาล • อุดมการณ์ทางการเมืองของรัฐบาล • ทัศนคติของพรรคการเมืองต่ออุตสาหกรรมต่างๆ

  39. 5. สภาพภูมิศาสตร์ (Geographic) ภูมิประเทศ Geographic ภูมิอากาศ

  40. สภาพแวดล้อมของการแข่งขันในอุตสาหกรรม(5-Force’s)สภาพแวดล้อมของการแข่งขันในอุตสาหกรรม(5-Force’s) คู่แข่งขันหน้าใหม่ New Potential Entrant อุปสรรคของผู้เข้ามาใหม่ อำนาจการต่อรองของผู้ขาย อำนาจการต่อรองของผู้ซื้อ ผู้ป้อนเงิน/วัตถุดิบ Supplier ลูกค้า Buyer คู่แข่งปัจจุบัน Rivalry ลักษณะและระดับการแข่งขัน อุปสรรคของสินค้าทดแทน สินค้าทดแทนคู่แข่งขันข้ามสนาม Substitute

  41. ตัวอย่าง KSF ของ...ร้านอาหารทั่วไป 1. รสชาติ = กุ๊ก 2. ความสะอาด สุขอนามัย 3. ที่จอดรถ 4. การบริการ 5. ทำเล 6. การตกแต่งบรรยากาศ

  42. KSF ของ Supermarket • Location • ราคาต่ำ • ความสะอาด • สถานที่จอดรถยนต์ที่เพียงพอ • ความสะดวกและความทันสมัย • สินค้าคงเหลือที่เพียงพอ • การบริการรวดเร็ว

  43. ตัวอย่าง KSF ของสถาบันศึกษาระดับอุดมศึกษา 1........... 2........... 3........... 4........... 5...........

  44. ตัวอย่าง KSF ของสถาบันศึกษาระดับอุดมศึกษา • เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย • เป็นที่ยอมรับในด้านวิชาการ • คุณภาพบัณฑิตเป็นที่ยอมรับ • อาจารย์และบุคลากรมีคุณภาพ • เทคโนโลยี/โสตทัศนูปกรณ์ • ทำประโยชน์เพื่อสังคม • มีสาขาวิชาหลากหลาย

  45. KSF ของธุรกิจอุตสาหกรรมรถยนต์ • ความสะดวกสบาย • แบบที่ดึงดูด • ราคาที่แข่งขันได้ • ช่องทางการจัดจำหน่ายที่ดี • บริการหลังการขาย • ประหยัดน้ำมัน • คุณภาพเทคโนโลยี ความปลอดภัย • การโฆษณาสร้าง Brand

  46. KSF ของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการผลิต 1. คุณภาพที่ดี 2. ความยืดหยุ่นในระบบการผลิต 3. ระบบการจัดการที่ดี 4. ต้นทุนต่ำ 5. เทคโนโลยีที่ทันสมัย 6. เงินทุน 7. รักษาสภาพแวดล้อม

  47. KSF ของอุตสาหกรรมเซรามิก 1. คุณภาพที่ดี 2. ความยืดหยุ่นในการผลิต 3. ระบบการจัดการที่ดี 4. เทคโนโลยีที่ทันสมัย 5. ศิลปะการออกแบบที่ดี 6. การแสวงหาตลาดใหม่ๆ

  48. KSF ของอุตสาหกรรมอัญมณี 1. ความน่าเชื่อถือ 2. การออกแบบ ดีไซน์ 3. การบริการก่อนและหลังการขาย 4. การแสวงหาตลาดใหม่ๆ

  49. KSF ของปั๊มน้ำมันค้าปลีก 1. ความเชื่อมั่นในคุณภาพผลิตภัณฑ์ 2. ความสะอาด 3. ต้นทุนต่ำ 4. เงินทุน 5. ความปลอดภัย 6. ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม 7. ทำเล หรือ ช่องทางการจัดจำหน่าย 8. การบริการ หรือส่งเสริมการขาย

  50. S = Strength คือ จุดแข็งที่เป็นพลัง ภายในองค์การ ในการส่งเสริมให้องค์การสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ หรือ สามารถแข่งขันได้ในธุรกิจอุตสาหกรรมเดียวกัน

More Related