1 / 13

สถานภาพของคนพิการ

สถานภาพของคนพิการ. อุปสรรค/สิ่งกีดขวาง. สังคมทั่วไป. การกีดกัน. ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ. ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ. ขาดสถานภาพทางสังคม. การปรับกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift). ความเมตตา เวทนาสงสาร ทำบุญ (Charity-based approach).

danil
Download Presentation

สถานภาพของคนพิการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานภาพของคนพิการ อุปสรรค/สิ่งกีดขวาง สังคมทั่วไป การกีดกัน ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ ขาดสถานภาพทางสังคม

  2. การปรับกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) ความเมตตา เวทนาสงสาร ทำบุญ (Charity-based approach) คำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิและความเสมอภาค (Rights-based approach)

  3. วิวัฒนาการของกฎหมายฯ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิมนุษยชน ฟื้นฟูสมรรถภาพ พัฒนา สวัสดิการ ความสงสาร

  4. การสำรวจความพิการของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2550 1. ประชากรที่พิการ ผลการสำรวจ พบว่า จำนวนประชากรประมาณ 65.5 ล้าน เป็นผู้ที่พิการประมาณ 1.9 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 และเมื่อพิจารณาประชากรที่พิการเปรียบเทียบต่อประชากรเพศและเขตการปกครองเดียวกัน พบว่า เพศหญิงมีประชากรที่พิการมากกว่าเพศชาย (ร้อยละ 3.0 และร้อยละ 2.7 ตามลำดับ) โดยนอกเขตเทศบาลมีร้อยละของประชากรที่พิการมากกว่าประมาณ 2 เท่าของในเขตเทศบาล

  5. ตาราง 1 จำนวนและร้อยละของประชากรที่พิการ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เพศ เขตการปกครอง จำนวน จำนวน ร้อยละ และภาค ประชากร ประชากรที่พิการ ของประชากรที่ พิการ ภาค กรุงเทพมหานคร 6,890,722 33,392 0.5 กลาง (ไม่รวม กทม.) 15,967,812 346,028 2.2 รวม 22,858,534 คนรวม 379,420 คน หมายเหตุ: ร้อยละคำนวณจากประชากร เพศ เขตการปกครอง และภาคเดียวกัน

  6. ตาราง 2 สถิติจดทะเบียนคนพิการ จากสำนักส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ตั้งแต่ เดือน พ.ย. 2537 – ก.ย. 2550 เพศ เขตการปกครอง จำนวน จำนวน ร้อยละ และภาค ประชากร ประชากรที่พิการ ของประชากรที่ พิการ ทั่วประเทศไทย 721,489 ภาค กรุงเทพมหานคร 34,999 0.5 กลาง+ ตะวันออก 162,176 2.2 รวม 197,175 คน หมายเหตุ: สถิตินี้ได้มากจาก สำนักส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ

  7. จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ร้อยละ 2.9 ของประชาชนไทยเป็นคนพิการภาคกลางและกรุงเทพมหานคร รวม 379,420 คน สถิติคนพิการที่จดทะเบียนกับสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคนพิการไทย รวม 197,175 คน คนพิการภาคกลาง และกรุงเทพมหานครยังไม่ได้จดทะเบียน = 182,245 คน

  8. ประชากรพิการที่มีความลำบาก/ปัญหาสุขภาพหรือมีความลำบากในการดูแลตนเอง หรือมีลักษณะความบกพร่อง ประกากรที่พิการ 1.9 ล้านคน เป็นผู้ที่มีความลำบาก/ปัญหาสุขภาพประมาณ 1.8 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 97.9 ของประชากรพิการ มีความลำบากในการดูแลตนเอง ประมาณ 0.4 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 21.0 และมีลักษณะความบกพร่องประมาณ 1.3 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 70.5 จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2551

  9. 4. ระดับการศึกษาที่กำลังเรียนของประชากรที่พิการ จากการสำรวจพบว่า ประชากรที่พิการ อายุ 5-30 ปี จำนวน 2.3 แสนคน มีถึงร้อยละ 81.7 ที่ไม่ได้กำลังเรียนหรือ ไม่เคยเรียน และมีเพียงร้อยละ 18.3 ที่กำลังเรียน ซึ่งส่วนใหญ่ร้อยละ 9.5 กำลังเรียนในระดับประถมศึกษา รองลงมาเรียนระดับมัธยมศึกษา (ร้อยละ 6.0 ) และระดับปริญญาตรี มีเพียง ร้อยละ 0.5 จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2551

  10. 5. การทำงานและอาชีพของประชากรที่พิการ ประชากรที่พิการอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 1.8 ล้านคนเป็น ผู้ที่มีงานทำในรอบปีที่แล้ว 0.6 ล้านคนหรือร้อยละ 35.2 และเป็นผู้ไม่ได้ทำงานจำนวน 1.2 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 64.8 โดยในกลุ่มผู้ทำงานนั้นเป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือ ในด้านการเกษตรและประมงมากที่สุด (ร้อยละ 19.4) รองลงมามีอาชีพขึ้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขาย การให้บริการและผู้ใช้แรงงาน (ร้อยละ 4.8) จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2551

  11. โครงการ ประชุมเครือข่ายการทำงานและจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการภาคกลางและภาคตะวันออก พ.ศ. 2551

  12. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ กฎหมาย พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ๒๕๕๐ แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ การปฏิบัติ ?

  13. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างความเข้าใจแก่หน่วยงาน บุคคล ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ๒. กำหนดทิศทางการทำงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในเขตพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก ๓. เพื่อจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการภาคกลางและภาคตะวันออก ๔. เพื่อจัดตั้งศูนย์ประสานงานคนพิการภาคกลางและภาคตะวันออก

More Related