1 / 20

การจัดแฟ้มข้อมูลแบบคีย์หลายตัว Multiple-Key File Organization

การจัดแฟ้มข้อมูลแบบคีย์หลายตัว Multiple-Key File Organization. อภิรดา ธาดาเดช ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. One Access Key?. Yes. No. Sequential Access Only?. Multi-Key Organization?. Yes. No. Direct Access Only?. Sequential

danniell
Download Presentation

การจัดแฟ้มข้อมูลแบบคีย์หลายตัว Multiple-Key File Organization

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดแฟ้มข้อมูลแบบคีย์หลายตัวMultiple-Key File Organization อภิรดา ธาดาเดช ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  2. One Access Key? Yes No Sequential Access Only? Multi-Key Organization? Yes No Direct Access Only? Sequential Organization ? No Yes IndexedSequential Organization Relative Organization ประเภทของการจัดโครงสร้างไฟล์

  3. ลักษณะโครงสร้างของ Multiple-Key • จากหัวข้อที่ผ่านๆมา จะมีการพูดถึงเฉพาะไฟล์ประเภทต่างๆ ที่ใช้ค่าคีย์เดี่ยวๆ (Single Key File) ได้แก่ ไฟล์แบบ Sequential ซึ่งจัดเรียงลำดับเรคอร์ดตามค่าของคีย์หนึ่งฟิลด์ ไฟล์แบบ Relative ซึ่งเราสามารถเข้าถึงตัวเรคอร์ดได้โดยตรงโดยระบุค่าคีย์เฉพาะค่าใด ค่าหนึ่ง และไฟล์แบบ Index Sequential ซึ่งเป็นไฟล์ที่สามารถเข้าถึงได้โดยตรง หรือเข้าถึงแบบจัดเรียงไปตามลำดับก็ได้ โดยการใช้ค่าคีย์ที่สามารถจัดเรียงลำดับเรคอร์ดและเป็นทั้งคีย์ที่ใช้ระบุถึงเรคอร์ดใดก็ได้

  4. องค์ประกอบของ multiple key file • Primary key • Secondary key • Non indexed

  5. ตัวอย่าง • ระบบบุคลากร เข้าถึงแบบสุ่มโดยใช้ รหัสบุคลากร เข้าถึงแบบสุ่มโดยใช้รหัสแผนก เข้าถึงแบบสุ่มโดยใช้เงินเดือน • ระบบคลังสินค้าของบริษัทให้เช่ารถ ซึ่งมีรายละเอียดเป็น รหัสรถ ยี่ห้อ แบบ รุ่น ระยะทางวิ่งมาแล้ว และสี โดยจัดให้สามารถเข้าถึงข้อมูลโดย ใช้ รหัสรถ ยี่ห้อ แบบ ค้นหาข้อมูล

  6. ตัวอย่างสินค้าคงคลังของบริษัทให้เช่ารถยนต์ตัวอย่างสินค้าคงคลังของบริษัทให้เช่ารถยนต์

  7. ความหมาย Multiple-Key • Multiple-Key วิธีการที่สร้างคีย์หลายๆ แบบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงเรคอร์ดในไฟล์ ทำให้การสอบถาม หรือเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม สามารถเข้าถึงได้หลายฟิลด์ • ลักษณะการจัดไฟล์แบบนี้มี 2 แบบ • Inverted • Multilist ในที่นี้จะพูดเฉพาะ Inverted

  8. ความจำเป็นของ Multiple Access • ในระบบสารสนเทศที่เน้นการโต้ตอบ (Interactive Information System) ส่วนใหญ่จะต้องการไฟล์ที่ใช้ค่าคีย์หลายคีย์ในการเข้าถึงและเรียกใช้เรคอร์ดในไฟล์ • วิธีการ อาจสร้างไฟล์หลายๆไฟล์ที่มีข้อมูลซ้ำๆ กัน เพื่อเข้าถึงข้อมูลแบบต่างๆกัน • ปัญหา คือ เปลืองเนื้อที่ เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล และ ในกรณีแก้ข้อมูล อาจแก้ไขไม่ครบถ้วน และเกิดความขัดแย้งได้

  9. ลักษณะทั่วไปของ Multiple Key • วิธีการแก้ไขปัญหาการเข้าถึงข้อมูลโดยผู้ใช้ต่างระดับกัน จัดให้ไฟล์มีลักษณะการเข้าถึงข้อมูลได้หลายทิศทาง เป็น Multiple Access Path ใช้วิธีการเข้าถึงได้หลายรูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้ • แนวคิดพื้นฐานของการจัดไฟล์แบบนี้ คือสร้างหลายดัชนี (Multiple Indexes) ที่จะสามารถชี้เรคอร์ดที่ต้องการได้จากหลายทิศทาง • ค่า Index ที่ใช้ในการจัดการไฟล์ Multiple Key จะมีมากกว่า 1 คีย์ มี Primary Key และ Secondary Key ต่างๆ ที่ต้องการค้นหาด้วย

  10. การจัดโครงสร้างแบบ Inverted File • โครงสร้างแบบ Multiple-Keyเป็นการจัดไฟล์ที่อาศัยความสัมพันธ์ผกผัน (Inverse Relationship)ระหว่างข้อมูลในเรคอร์ดกับค่า Primary Keyของเรคอร์ดนั้น ไฟล์ของข้อมูลจะมีค่าดัชนีผกผันกับค่าคีย์ของเรคอร์ดในไฟล์นั้น เหมือนกับดัชนีของหนังสือ ถือได้ว่ามีค่าผกผันกับหน้าของหนังสือ

  11. การจัดโครงสร้างแบบ Inverted File (ต่อ) ไฟล์แบบ Inverted ประกอบด้วย 2 ส่วน • Directory or inversion indexesประกอบด้วยรายการผกผัน (Inverse List) ของแต่ละSecondary Key ซึ่งนำมาใช้เรียกข้อมูลในส่วนของData Record Area โดยอาศัยPrimary Key เข้าไปดึงข้อมูลออกมา • Data Record Area : อาจจัดเก็บแบบRelative, sequential, or indexed sequential ที่มีค่าPrimary Key เป็นการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม

  12. การจัดโครงสร้างแบบ Inverted File (ต่อ) • รายการชื่อฟิลด์ใน Inverted List อาจจัดเก็บเป็นไฟล์ย่อยๆ ไฟล์ละ Secondary Key ก็ได้ หรืออาจจัดเก็บรายการฟิลด์ที่เป็น Secondary Key ทั้งหมดไว้ใน 1 ไฟล์ก็ได้ แต่ละหน่วย (Entry) ในรายการ Inverted List ของแต่ละ Secondary Key จะประกอบด้วย 1 ฟิลด์ ที่เป็น Secondary Key ในไฟล์

  13. Creating Inverted list

  14. Dirctory of Brand and Style Data file contents key

  15. ตัวอย่างข้อมูล ข้อมูลระบบนักศึกษา

  16. สร้าง Inverting File และ Data File • ต้องการค้นข้อมูลแบบสุ่มด้วย รหัสนักศึกษา • ต้องการค้นข้อมูลแบบสุ่ม ว่านักศึกษาที่สังกัดภาคนั้นๆ มีใครบ้าง สามารถเลือกค้นได้จาก รหัสภาควิชา • ต้องการค้นข้อมูลแบบสุ่ม มีใครบ้างที่เรียนวิชารหัสต่างๆ สามารถเลือกค้นได้จาก รหัสวิชาเรียน

  17. สร้าง Inverting File และ Data File (ต่อ)

  18. สอบถามข้อมูล แล้วจะค้นอย่างไร • ถามข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา ถ้าทราบรหัส ค้นได้จาก Data File • ถามว่ามีใครบ้างอยู่ภาควิชา Com • ถามว่ามีใครบ้างอยู่ภาควิชา Bio • ถามว่า มีใครบ้างเรียนวิชา 111 • ถามว่า มีใครบ้างเรียนวิชา 111 และอยู่ภาค Com • ถ้าบอกชื่อ จะค้นได้ อย่างไร ควรทำอะไร เพิ่มอย่างไร เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

  19. ประโยชน์ของInverted file • สามารถค้นหาข้อมูลได้ตามเงื่อนไขได้ง่าย เช่น ต้องการหา รถ ยี่ห้อ Dodge style 2ประตู • ประหยัดเนื้อที่ ในส่วนของ ข้อมูล ไม่ต้องเก็บส่วนของ Secondary key ข้อด้อยของ Inverted file เสียเวลา ในการค้นหา หาก ค้นหาในหลายเงื่อนไข

  20. การออกแบบInverted File ควรพิจารณา • ส่วนของ Directory or inversion indexes ว่าต้องการค้นหาข้อมูลผ่านเขตข้อมูลใดบ้าง ควรสร้าง ส่วนinverted เท่าที่จำเป็น • ส่วนของ Data Record Area ซึ่งใช้ได้ทั้งแบบRelative, sequential, or indexed sequential

More Related