1 / 17

ระเบียบวิธีวิจัยในงานภาคเกษตรกรรม

ระเบียบวิธีวิจัยในงานภาคเกษตรกรรม. ดร.วรรณดี สุทธินรากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. Philosophy. epistemology. Metaphysic, ontology. knowledge. ความรู้. Phenomenal/ Reality. ปรากฏการณ์/ความจริง. คุณค่า. Value. start. Axiology.

danno
Download Presentation

ระเบียบวิธีวิจัยในงานภาคเกษตรกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบวิธีวิจัยในงานภาคเกษตรกรรมระเบียบวิธีวิจัยในงานภาคเกษตรกรรม ดร.วรรณดี สุทธินรากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. Philosophy epistemology Metaphysic, ontology knowledge ความรู้ Phenomenal/ Reality ปรากฏการณ์/ความจริง คุณค่า Value start Axiology การวิจัยคือการแสวงหาความรู้จากความจริงด้วยวิธีการที่เป็นระบบระเบียบและมีเหตุผลเพื่อให้ได้สิ่งที่มีคุณค่า/สิ่งที่ดีกว่า

  3. เศรษฐศาสตร์มหภาค/จุลภาคเศรษฐศาสตร์มหภาค/จุลภาค เศรษฐกิจเสรี การศึกษาแบบแยกส่วน ปรากฏการณ์/ความจริง เทคโนโลยีสูง แพทย์สมัยใหม่ เกษตรสมัยใหม่ ยุติธรรมภาครัฐ Paradigm shift วัฒนธรรม high art, low art เงิน วิทยาศาสตร์ กระบวนทัศน์กระแสหลัก(mainstream paradigm) ดั้งเดิม ศาสนา เทคโนโลยีสารสนเทศ Paradigm shift? กระบวนทัศน์ทางเลือก (alternative paradigm) เกษตรทางเลือก/ทฤษฎีใหม่/เกษตรยั่งยืน happiness เทคโนโลยีขนาดกลาง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจชุมชน/พอเพียง ยุติธรรมชุมชน เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ/ชุมชน การศึกษาแบบองค์รวม/บูรณาการ แพทย์ทางเลือก

  4. เศรษฐศาสตร์มหภาค/จุลภาคเศรษฐศาสตร์มหภาค/จุลภาค เศรษฐกิจเสรี การศึกษาแบบแยกส่วน ความรู้ เทคโนโลยีสูง แพทย์สมัยใหม่ เกษตรสมัยใหม่ ยุติธรรมภาครัฐ Paradigm shift วัฒนธรรม high art, low art เงิน วิทยาศาสตร์ กระบวนทัศน์กระแสหลัก(mainstream paradigm) ดั้งเดิม ศาสนา เทคโนโลยีสารสนเทศ Paradigm shift? กระบวนทัศน์ทางเลือก (alternative paradigm) เกษตรทางเลือก/ทฤษฎีใหม่/เกษตรยั่งยืน happiness เทคโนโลยีขนาดกลาง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจชุมชน/พอเพียง ยุติธรรมชุมชน เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ/ชุมชน การศึกษาแบบองค์รวม/บูรณาการ แพทย์ทางเลือก

  5. ความรู้ การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) กระบวนทัศน์กระแสหลัก(mainstream paradigm) วิจัยผสานวิธี (combined methodology) เทคโนโลยีสารสนเทศ วิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กระบวนทัศน์ทางเลือก(Alternative paradigm) วิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research)

  6. เปรียบเทียบการวิจัย 3 กระบวนทัศน์ ธรรมชาติของความจริง การวิจัยปริมาณ ความจริงเป็นสิ่งที่สามารถจัดกระทำได้ ควบคุมได้ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ - ความจริงมีวิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ -มนุษย์เป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ท่ามกลางความสัมพันธ์ของอำนาจ การวิจัยคุณภาพ ความจริงมีความหลากหลาย สามารถนำมาจัดความสัมพันธ์

  7. เป้าหมาย การวิจัยคุณภาพ ตีความ (ภาษา วิวาทะ สัญลักษณ์) ให้ความหมายในเชิงลึก การวิจัยเชิงปฏิบัติการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนามุ่งความเป็นอิสระ คุณค่าของมนุษย์ มุ่งความยุติธรรม เสรีภาพ ประชาธิปไตย เสริมพลัง การวิจัยปริมาณมุ่งศึกษาพฤติกรรมของคน (ความรู้ ความคิด การกระทำ) เพื่อให้ได้ข้อสรุปเชิงนัยทั่วไป (generalization)พิสูจน์ + อ้างอิงได้

  8. ธรรมชาติของความรู้ การวิจัยปริมาณได้จากความจริงที่กำหนดใน วัตถุประสงค์ มีความเป็นกลาง (value free) การวิจัยคุณภาพความรู้สะท้อนถึงโครงสร้าง ของสังคม ภาษามีความหมายต่อข้อมูล ยากที่จะเป็นกลาง(non-value free) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ความรู้อยู่ในระดับสำนึก(conscious) การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้จากการ ตั้งคำถาม(dialogue) ความรู้มีมิติขององค์รวม (holistic dimension)

  9. วิธีการ การวิจัยคุณภาพให้ความสำคัญกับคนพฤติกรรมของคนทฤษฎีฐานราก grounded theory การวิจัยปริมาณ สำรวจ ทดลอง อธิบาย ทำนายพฤติกรรมใช้ทฤษฎีหลัก(grand theory) ตั้งสมมุติฐานใช้สถิติที่ง่าย - ซับซ้อน การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ใช้กระบวนการ action reflection (dialectic)

  10. วงจรของการวิจัยเชิงปฏิบัติการวงจรของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ action reflection

  11. การวางแผนการปฏิบัติ (นำแผนไปใช้) การสะท้อนสังเกต

  12. Plan Do Act Check

  13. Plan Action Observation Evaluation Re-Plan

  14. เครื่องมือ การวิจัยปริมาณ - เครื่องมือ แบบสอบถาม • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ • ใช้การตั้งคำถาม • วิธีการหลากหลาย เช่น สัมภาษณ์ / เล่าเรื่อง / การแสดง / ร้องเพลง ฯลฯ การวิจัยคุณภาพ - เครื่องมือ สัมภาษณ์ สังเกต- การตีความ (meaning) /human as instrument - จัดความสัมพันธ์

  15. เทคนิคและเครื่องมือ มีการตั้งคำถามกระตุ้นให้เกิดพลัง (powerful questions) แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต brainstorming, concept mapping, SWOT, BSC ,RRA, PRA,AIC, ZOPP, การเล่านิทาน บทบาทสมมุติ ประชุมกลุ่ม เวทีชุมชน ฯลฯ

  16. การนำเสนอผลการวิจัย • การวิจัยเชิงปริมาณ อิงวัตถุประสงค์ อิงสถิติ สมมุติฐาน • การวิจัยเชิงคุณภาพ อิงวัตถุประสงค์ คำถามข้อสงสัยในการวิจัย • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ อิงวงจรของการวิจัย

  17. สวัสดี

More Related