1 / 39

แนวทางการดำเนินงานของ คณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและ

แนวทางการดำเนินงานของ คณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและ ประสานงานการฝึกอาชีพจังหวัด (กพร.ปจ.) และคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำ สพภ./ศพจ. 1. หลักการและความเป็นมาของ กพร.ปช.

daquan-west
Download Presentation

แนวทางการดำเนินงานของ คณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงานของแนวทางการดำเนินงานของ คณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและ ประสานงานการฝึกอาชีพจังหวัด (กพร.ปจ.) และคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำ สพภ./ศพจ.

  2. 1. หลักการและความเป็นมาของ กพร.ปช. สภาที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาแรงงานแห่งชาติ ได้จัดทำข้อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเห็นชอบแนวทางและมาตรการในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพ และให้กระทรวงมหาดไทยหรือกระทรวงแรงงานฯ เป็นหน่วยกลางในการประสานนโยบายและแผนการฝึกอาชีพ เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2536 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการแนวทางและมาตรการในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพ เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2536 และนายกรัฐมนตรีมีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพแห่งชาติ (กพร.ปช. ) เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2537 เป็นครั้งแรก และมีการจัดประชุมทั้งหมด 18 ครั้ง

  3. ต่อมากรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยมติที่ประชุมคณะอนุกรรมการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวางแผนการพัฒนากำลังคนในระดับชาติ ซึ่งมี ดร.ชุมพล พรประภาเป็นประธาน ได้จัดทำร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาแรงงงานและประสานงานการฝึกอาชีพแห่งชาติ พ.ศ. .... เสนอต่อคณะรัฐมนตรีผ่านคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ และนายกรัฐมนตรีได้ลงนามเมื่อวันที่ 4 ก.ย. 2552 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 126 ตอนพิเศษ 145ง วันที่ 1 ตุลาคม 2552 มีผลให้คณะกรรมการ กพร.ปช. สามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องและเป็นคณะกรรมการถาวรที่มีกฎหมายรองรับ เป็นการแก้ปัญหาการขาดความต่อเนื่องในการดำเนินงานกรณีที่มีความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเกิดขึ้น

  4. อำนาจหน้าที่ของ กพร.ปช. กำหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพของผู้อยู่ในกำลังแรงงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐ และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประสานแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระหว่างระบบการศึกษาและระบบการพัฒนากำลังแรงงานให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องตามทิศทางนโยบายแห่งรัฐและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประสานนโยบายและแผนการฝึกอาชีพของทุกหน่วยงาน ทั้งภาครัฐบาลและ ภาคเอกชน เพื่อขจัดปัญหาความซ้ำซ้อนและความสิ้นเปลือง ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานในภาครัฐบาลและภาคเอกชน ทั้ง ทางด้านคุณภาพและปริมาณ ประเมินผลการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนของหน่วยงานต่างๆ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานเพื่อช่วยปฏิบัติงานได้ตามทที่เห็นสมควร 1. 2. 3. 4. 5. 6.

  5. คณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการ กพร.ปช. 1. คณะอนุกรรมการ กพร.ปจ. 2. คณะอนุกรรมการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวางแผนกำลังคน ในระดับชาติ 3. คณะอนุกรรมการประสานการพัฒนากำลังคนภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 4. คณะอนุกรรมการพิจารณากรอบการพัฒนาศักยภาพ แรงงานด้านภาษาและวัฒนธรรมเพื่อรองรับการเคลื่อนย้าย แรงงานเสรี

  6. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 126 ตอนพิเศษ 145 ง วันที่ 1 ตุลาคม 2552 คณะอนุกรรมการ กพร.ปจ.

  7. 2. องค์ประกอบของ คณะอนุกรรมการ กพร.ปจ. คณะอนุกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพจังหวัด (กพร.ปจ.) ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ผู้อำนวยการ สพภ./ศพจ. เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ หัวหน้าฝ่ายแผนงานและประเมินผล สพภ./ศพจ. เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ และมีอนุกรรมการ 17 คน

  8. อำนาจหน้าที่ 1) ศึกษาและรวบรวมข้อมูลด้านกำลังแรงงาน เพื่อดำเนินการวิเคราะห์ความต้องการแรงงานในภาพรวมของจังหวัด และประสานแผนการพัฒนากำลังแรงงานและการฝึกอาชีพเข้ากับแผนพัฒนาจังหวัด 2) ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนากำลังแรงงาน และการพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดทั้งทางด้านคุณภาพและปริมาณ 3) เป็นศูนย์กลางข้อมูลทางด้านความต้องการกำลังแรงงานและ แผนการพัฒนากำลังแรงงานของจังหวัด

  9. บทบาทของ กพร.ปช. ระดับชาติ ระดับจังหวัด 1) รับนโยบายระดับชาติไปแปลงสู่แผนปฏิบัติงานการพัฒนาฝีมือแรงงานในจังหวัด 2) ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบของจังหวัดและกำหนดกลุ่มเป้าหมายของจังหวัดเพื่อพัฒนาตามแผนระดับชาติ 3) รวบรวมข้อมูลการฝึกอาชีพกำลังแรงงานของหน่วยงานภาครัฐ(ฐานข้อมูลปีงบประมาณ ๒๕๕๑และ ๒๕๕๒) ให้ครบถ้วน 4) ประชุมจัดทำกรอบแผนปฏิบัติงานประจำปีร่วมกัน 5) ติดตามผล/วิเคราะห์ผลเทียบเกี่ยวกับกรอบแผนการปฏิบัติการประจำปี 6) ประชาสัมพันธ์ผลงานให้ส่วนราชการ เอกชน ประชาชนทราบ 7) นำเสนอปัญหาของจังหวัดสู่คณะกรรมการ กพร.ปช. 1) กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา แรงงานในระดับชาติให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและแผนพัฒนาเศรษฐกิจแลสังคมแห่งชาติ 2) ประสานแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างระบบการศึกษากับระบบการพัฒนากำลังแรงงาน 3) ประสานนโยบายการ ฝึกอบรม/ฝึกอาชีพส่วนราชการในจังหวัด 4) ติดตามและประเมินผลการฝึกอบรม/ฝึกอาชีพ 5) เสนอแนะการแก้ไขปัญหาแลอุปสรรค เสนอ ครม. กำหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนากำลังคน วิเคราะห์ กำหนดสัดส่วนการพัฒนาฝีมือแรงงานของส่วนราชการ ประสานโดยการกำหนดคณะทำงาน/ผลักดันตามนโยบาย จัดวางระบบฐานข้อมูลการฝึกอบรม/ฝึกอาชีพ หน่วยงานภาครัฐ

  10. แผนงาน/โครงการ •  ดำเนินการประชุม คณะอนุกรรมการ กพร.ปจ. •  ประชุมประสานแผนหน่วยงาน • จัดทำเอกสารเผยแพร่ • จัดประชุม/สัมมนาระดมสมองเพื่อสนับสนุนงาน • ของคณะอนุกรรมการ กพร.ปจ.

  11. ศึกษา/วิเคราะห์  แรงงานในระบบ  แรงงานนอกระบบ ปัญหาสำคัญกำลังแรงงานในระดับจังหวัด

  12. ปีงบประมาณ 2552 งานคณะอนุกรรมการ กพร.ปจ. ใช้งบประมาณ 4,775,625 บาท

  13. 4. แนวทางการดำเนินงานของ กพร.ปจ. ประจำปี 2553 จัดประชุม กพร.ปจ. อย่างน้อย 1 ครั้ง ส่งรายงานการประชุม กพร.ปจ. ภายใน ๑๕ วัน หลังจาก ดำเนินการจัดประชุม จัดทำแบบสรุปผลการอบรม/ฝึกอาชีพ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๒ สำรวจและรวบรวมการดำเนินการด้านการอบรม/ ฝึกอาชีพของหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ ให้มีการระบุชื่อที่อยู่ของหน่วยงานผู้ดำเนินการฝึกอาชีพ หลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาในการฝึก จำนวน ผู้เข้ารับการฝึก 1. 2. 2.1 2.2

  14. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ สอบถาม หน่วยงานในพื้นที่เพื่อสรุปข้อมูลลงในแบบ 01/กพร.ปจ.02 ส่งรายงานผลข้อมูลให้กองยุทธศาสตร์และ เครือข่ายพัฒนาฝีมือแรงงาน ภายใน เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๒ ทำหน้าที่สนับสนุนและร่วมประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาแรงงานอื่นๆ ที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่จังหวัด ปฏิบัติหน้าที่อื่นที่ กพร.ปช. มอบหมาย 2.3 2.4 3. 4.

  15. 5. การเตรียมการเพื่อจัดประชุม ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเสนอเรื่องเข้าวาระการประชุม ฝ่ายเลขานุการสามารถประสานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบกับการพัฒนาฝีมือแรงงานของจังหวัดในขณะนั้น มีประเด็นใดที่สำคัญและเห็นควรนำเข้าสู่วาระการประชุมของคณะอนุกรรมการ กพร.ปจ. เพื่อพิจารณาหรือเพื่อทราบ เช่น นโยบายการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด แผนยุทธศาสตร์จังหวัด หรือนโยบายทิศทางของสภาอุตสาหกรรมจังหวัดและหอการค้าจังหวัด เป็นต้น และเชิญผู้แทนของหน่วยงานนั้นเข้าร่วมประชุมเพื่อชี้แจงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆได้ ทั้งนี้แม้ว่าหน่วยงานดังกล่าวจะไม่ได้เป็นคณะอนุกรรมการ กพร.ปจ. ก็ตาม 5.1

  16. จัดทำระเบียบวาระการประชุม กพร.ปจ. นัดหมายประธานคณะอนุกรรมการเพื่อจัดประชุม กพร.ปจ. และหารือระเบียบวาระการประชุมรวมทั้งสรุปแนวทางการประชุม ประสานงานเป็นการภายในกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้จัดเตรียม ข้อมูลที่จะนำมาพิจารณาในที่ประชุม จัดทำเอกสารต่างๆ หนังสือเชิญประธานและอนุกรรมการเข้า ประชุม เอกสารประกอบการประชุม เอกสารการเบิกจ่ายเงินค่า เบี้ยประชุม รายงานการประชุม เป็นต้น 5.2 5.3 5.4 5.5

  17. จัดส่งรายงานการประชุมให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงานซึ่งเป็นฝ่าย เลขานุการ กพร.ปช.เพื่อรวบรวมและนำเสนอต่อ กพร.ปช. วิเคราะห์ข้อมูลการฝึกอาชีพของส่วนราชการในจังหวัด ให้ที่ประชุมทราบ วิเคราะห์โครงสร้างกำลังแรงงาน จัดลำดับ ความสำคัญของกลุ่มเป้าหมายที่จังหวัดต้องพัฒนา 5.6

  18. งานคณะอนุกรรมการ กพร.ปจ. ปี 2553

  19. ผลการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในประเทศไทย ปีงบประมาณ 2552

  20. ผลการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในประเทศไทย ปีงบประมาณ 2552

  21. ผลการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในประเทศไทย ปีงบประมาณ 2552

  22. การกำหนดนโยบายตามอำนาจหน้าที่ กพร.ปช. ตาม (ข้อ 8) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ในปีงบประมาณ 2553 ด้านยุทธศาสตร์ ด้านข้อมูล • การศึกษากรอบความร่วมมือการพัฒนาศักยภาพกำลังแรงงานไทย 32 ตำแหน่งงาน ภายใต้ข้อตกลงอาเซียน • การศึกษาวิเคราะห์แนวทางการพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับการลงทุนตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 • โครงการประชุมสัมมนา International Conference on “Mega- Trend in Human Capital and Labour Productivity towards the Global Integration” ระบบฐานข้อมูลการฝึกอบรม/ ฝึกอาชีพกำลังแรงงานของ ส่วนราชการ

  23. ร่างวาระการประชุมคณะอนุกรรมการ กพร.ปจ. ครั้งที่ 1/2553

  24. การวิเคราะห์ข้อมูล • การนำเสนอข้อมูล • ด้านแรงงานของจังหวัด • โครงสร้างกำลังแรงงาน • ข้อมูลสาขาอุตสาหกรรมที่สำคัญ การวิเคราะห์ Skill Demand การวิเคราะห์ข้อมูล การฝึกอบรมของ ทุกส่วนราชการใน จังหวัด (ปี ๒๕๕๔ กพร.ปช. จะมีระบบฐานข้อมูลการ ฝึกอบรม/ฝึกอาชีพกำลัง แรงงานของหน่วยงาน ภาครัฐ)

  25. ร่างระเบียบวาระ เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ คำสั่งแต่งตั้งตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี 1.เรื่องเพื่อทราบ 1. ข้อมูลสำคัญด้านแรงงาน ระดับประเทศ - ประชากร -กำลังแรงงานในระบบ/นอกระบบ -หน่วยฝึก -ผล -การฝึกราม พ.ร.บ. ระดับจังหวัด -ข้อมูลประชาการ -สถานประกอบการ -กำลังแรงงาน -หน่วยฝึก -ผล -การฝึกตาม พ.ร.บ. 2.เรื่องเพื่อพิจารณา 1.การรวบรวมข้อมูลการพัฒนาแรงงานในระดับจังหวัดเพื่อประกอบการ..... 2. การพัฒนาแรงงานในสาขาที่สองคล้องกับยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด จังหวัด เช่น ท่องเที่ยวบริการ ระดับมหาวิทยาลัย -เปิดคณะที่สอดคล้อง -เปิดสาขาวิชาที่สอดคล้อง -เน้นหลักสูตรด้านท่องเที่ยวบริการ หน่วยฝึกอื่นทั้งรัฐและเอกชน ................................................................ ............................................................... 3.อื่น ๆ 2.ภาคเศรษฐกิจของจังหวัด 3.ยุทธศาสตร์จังหวัด ................................................................................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ ................................ บริการ เกษตร อุตสาหกรรม

  26. แนวทางการดำเนินงานของแนวทางการดำเนินงานของ คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน ประจำ สพภ./ศพจ.

  27. 1. หลักการและความเป็นมา มาตรา 78 (5) แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้บัญญัติให้รัฐต้อง “จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่นเพื่อให้การจัดทำและการให้บริการสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน” มาตรา 87 กำหนดว่า รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมประชาชน โดยต้องส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในเรื่องต่างๆ อย่างครบวงจรเริ่มตั้งแต่การกำหนดนโยบาย การตัดสินใจ การติดตามตรวจสอบ

  28. 2. วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งคณะกรรมการ ที่ปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลความต้องการแรงงาน นำมาวางแผนในการพัฒนาฝีมือแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงาน เพื่อให้การส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานของ สพภ./ศพจ. ให้เกิดการนำทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดของหน่วยงานมาใช้ในการพัฒนาฝีมือแรงงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อช่วยลดข้อจำกัดด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน

  29. องค์ประกอบของคณะกรรมการที่ปรึกษาองค์ประกอบของคณะกรรมการที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน 1) ประธาน คือ รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ได้รับมอบหมาย หรือประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด ๒) คณะกรรมการ ประกอบด้วย - ผู้แทนจากภาคอุตสาหกรรมในท้องถิ่น (3-4 คน) - ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด - ผู้อำนวยการ สพภ./ศพจ. - แรงงานจังหวัด - จัดหางานจังหวัด - อุตสาหกรรมจังหวัด - พาณิชย์จังหวัด - ผู้ทรงคุณวุฒิในท้องถิ่น (1-2 คน) - ผู้นำชุมชนในท้องถิ่น (1-2 คน) - หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมการพัฒนาฝีมือและศักยภาพแรงงาน เป็นกรรมการและเลขานุการ - เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

  30. อำนาจหน้าที่ 1) มีหน้าที่ให้คำปรึกษา แนะนำ ให้คำปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานแก่ สพภ./ศพจ 2) ให้คำแนะนำ เสนอแนะด้านการสำรวจความต้องการ วางแผน ดำเนินการ ประเมินและติดตามผลการพัฒนาฝีมือแรงงานและการดำเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 3) ให้แนะนำเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ เครื่องจักรให้คุ้มค่าการลงทุน และพัฒนาฝีมือแรงงานตอบสนองนโยบายแห่งรัฐและกระทรวงแรงงาน

  31. การแต่งตั้งและวาระของคณะกรรมการที่ปรึกษาการแต่งตั้งและวาระของคณะกรรมการที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาฯ กระทำโดยการออกหนังสือแต่งตั้งจากผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้อำนวยการ สพภ./ศพจ. จัดตั้งคณะทำงานเพื่อคัดเลือก และทาบทามผู้ที่อยู่ในเป้าหมายและนำเสนอผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อลงนามในหนังสือแต่งตั้ง คณะกรรมการที่ปรึกษา วาระ 2 ปี เมื่อครบวาระ ควรมีการทบทวนว่ามีกรรมการใดที่มีประสิทธิภาพ และสามารถได้รับการแต่งตั้งอีกตามความประสงค์ของผู้อำนวยการ

  32. แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการที่ปรึกษาแนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน 1. การจัดประชุมคณะกรรมการทีปรึกษาฯ ไม่มีค่าเบี้ยประชุม ผอ.สพภ./ศพจ.อาจพิจารณาจ่ายค่าพาหนะสำหรับกรรมการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 ข้อ 10 และ 11 และพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 มาตรา 4 โดยให้ สพภ./ศพจ.บริหารงบประมาณที่ได้รับจัดสรรให้ 2.กำหนดแผนการประชุมไม่น้อยกว่าปีละ 2 ครั้ง

  33. แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการที่ปรึกษาแนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน 3. เนื้อหา/วาระการประชุม การประชุมต้นปีงบประมาณเพื่อนำเสนอแผนปฏิบัติการพัฒนาฝีมือแรงงานของ สพภ./ศพจ.ว่าสอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ หรือสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัดหรือไม่ เพื่อให้คณะกรรมการ ฯ ได้มีส่วนร่วมในการนำเสนอข้อคิดเห็นและแนะนำมาปรับปรุงแผนงานของ สพภ./ศพจ. การประชุมปลายปีงบประมาณเป็นการนำเสนอผลการปฏิบัติงานเพื่อให้คณะกรรมการได้รับทราบและเสนอแนะการปรับปรุงและกำหนดแผนการพัฒนาฝีมือแรงงานในปีงบประมาณต่อไป

  34. แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการที่ปรึกษาแนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน 4. การเตรียมการจัดประชุม - การกำหนดวันประชุมในการประชุมครั้งแรกควรประสานภายในกับประธานคณะกรรมการที่ปรึกษา ขอวันสะดวกจากประธานในการนัดวันประชุมล่วงหน้า - สถานที่ประชุม - การเตรียมเอกสารการประชุม 5. ดำเนินการประชุม

  35. แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการที่ปรึกษาแนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน 6. การจัดทำรายงานการประชุม 7. การดำเนินการตามมติที่ประชุมและแผนปฏิบัติการดำเนินงาน

  36. ผลการสัมมนาที่ผ่านมา การสัมมนาจัดทำแผนปฏิบัติการของคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน วันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม 2551 ณ โรงแรมเดอะแกรนด์ อยุธยา บางกอก กรุงเทพฯ

  37. การสัมมนาจัดทำแผนปฏิบัติการของคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานการสัมมนาจัดทำแผนปฏิบัติการของคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน วันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม 2551 ณ โรงแรมเดอะแกรนด์ อยุธยา บางกอก กรุงเทพฯ ข้อเสนอแนะของการสัมมนา 1) ควรให้ สพภ./ศพจ.ทบทวนรูปแบบและองค์ประกอบของคณะกรรมการที่ปรึกษาฯ ให้มีจำนวนและคุณสมบัติที่เหมาะสม และเป็นผู้มีส่วนได้เสีย (Stake- holder)หรือสามารถสนับสนุนภารกิจของ สพภ./ศพจ. 2) ควรมีการสร้างความเข้าใจของบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษาฯ และคณะอนุกรรมการ กพร.ปจ. ให้กับบุคลากรของ สพภ./ศพจ. เพื่อนำไปสู่การทำงานของ สพภ./ศพจ. 3) ควรมีการกำหนดเป้าหมาย (Output)ของการจัดประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาฯ ให้สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ เพื่อให้สามารถนำไปสู่การปฏิบัติตามภารกิจของ สพภ./ศพจ. และสามารถนำผลตามมติที่ประชุมไปดำเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม 4) ควรมีการพิจารณาจัดสรรงบประมาณการจัดประชุมให้แก่ สพภ./ศพจ.

  38. การสัมมนาจัดทำแผนปฏิบัติการของคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงานการสัมมนาจัดทำแผนปฏิบัติการของคณะกรรมการที่ปรึกษาด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน วันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม 2551 ณ โรงแรมเดอะแกรนด์ อยุธยา บางกอก กรุงเทพฯ ข้อเสนอแนะของการสัมมนา (ต่อ) 5) ควรให้มีระเบียบรองรับการเบิกจ่ายเบี้ยประชุมให้แก่คณะกรรมการที่ปรึกษาฯ 6) ควรให้ สพภ.เป็นแม่ข่ายในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการที่ปรึกษาของ ศพจ.รวมทั้งร่วมประชุมกับ ศพจ.เครือข่าย เพื่อนำข้อมูลในระดับพื้นที่มาศึกษาวิเคราะห์ปัญหา/อุปสรรค เพื่อร่วมหาแนวทางการแก้ไขปัญหาของ ศพจ. และในขณะเดียวกันให้ ศพจ.ได้ร่วมประชุมกับคณะกรรมการที่ปรึกษาฯ ของ สพภ.เพื่อรับรู้แนวทางการดำเนินการของ สพภ. 7) ให้มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ของคณะกรรมการที่ปรึกษาฯ ของ สพภ./ศพจ.ในรูปแบบที่เป็นทางการ เช่น การประชุม การสัมมนา หรือรูปแบบที่ไม่เป็นทางการอื่นๆ ตามความเหมาะสมของพื้นที่

  39. THANK YOUforATTENTION

More Related