1 / 24

การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร

ISO 9001:2008 ครั้งที่ 7 /255 7 วันที่ 28 มีนาคม 255 7 การบำรุงรักษา ( Preventive Maintenance ). การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร. การปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษา. หน่วยเครื่องกล - ช่างเครื่องยนต์ - ช่างลิฟต์ - ช่างเครื่องกำเนิดไอน้ำ หน่วยไฟฟ้า - ช่างเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่

darryl-mack
Download Presentation

การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ISO 9001:2008 ครั้งที่ 7/2557 วันที่ 28 มีนาคม 2557 การบำรุงรักษา (Preventive Maintenance) การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร

  2. การปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษาการปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษา • หน่วยเครื่องกล • - ช่างเครื่องยนต์ • - ช่างลิฟต์ • - ช่างเครื่องกำเนิดไอน้ำ • หน่วยไฟฟ้า • - ช่างเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ • - ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย • หน่วยประปาและสุขาภิบาล • - ช่างกรองน้ำ • - ช่างผลิตน้ำดื่ม

  3. การปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษาการปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษา ให้บริการในด้านการบำรุงรักษา การจัดทำแผนการบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์ในเชิงป้องกันให้มีความพร้อมใช้ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง จัดเก็บบันทึกข้อมูลประวัติของเครื่องจักรต่างๆ เช่น เครื่องปั๊มน้ำ ,เครื่องดับเพลิง ,ลิฟต์ , เครื่องกำเนิดไอน้ำ ,เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน,ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้,เครื่องปรับอากาศ(Chiller), เครื่องผลิตน้ำดื่มและเครื่องจักรผลิตน้ำประปา

  4. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้เครื่องจักรมีความพร้อมใช้งาน • เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งานเครื่องจักรสูงสุด • เพื่อลดค่าใช้จ่ายการซ่อมบำรุงเครื่องจักร • เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักรให้ใช้งานได้ยาวนานขึ้น

  5. เครื่องจักรที่บำรุงรักษาในระบบ • เครื่องกำเนิดไฟฟ้าและเครื่องดับเพลิง • เครื่องปั้มน้ำและมอเตอร์ • เครื่องกำเนิดไอน้ำ(BOILER) • ลิฟต์ • ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ • เครื่องปรับอากาศ (CHILLER) • เครื่องผลิตน้ำดื่มและเครื่องจักรผลิตน้ำประปา • เครื่องจักรอื่นที่อยู่ในความรับผิดชอบของงานซ่อมบำรุง

  6. ปริมาณเครื่องจักร ปี 2553-2556

  7. KPIBRECK DOWN ต.ค.55-ก.ย.56 เป้า Break down เครื่องจักร 2 % จำนวนเครื่องจักร 534 เครื่อง จำนวนชั่วโมงการใช้งาน 3,892,956 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงที่หยุดใช้เครื่อง 504 ชั่วโมง KPI Break down0.013 %

  8. KPI ความพร้อมใช้ ต.ค.55-ก.ย.56 เป้าความพร้อมใช้เครื่องจักร 100 % จำนวนเครื่องจักร 534 เครื่อง จำนวนชั่วโมงการใช้งาน 329,003 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงที่หยุดใช้เครื่อง 1,368 ชั่วโมง รวมเวลาซ่อม 1,368 ชั่วโมง KPI ความพร้อมใช้เครื่องจักร 99.792 %

  9. KPI การบำรุงรักษาตามแผน ต.ค.55-ก.ย.56 เป้าบำรุงรักษาตามแผน 100 % จำนวนเครื่องจักร 534 เครื่อง จำนวนครั้งที่บำรุงรักษาตามแผน 3,910 ครั้ง จำนวนครั้งที่บำรุงรักษาทำได้จริง 3,720 ครั้ง KPI ที่ทำได้ตามแผน 92.43%

  10. สรุป BRECK DOWN งานซ่อมบำรุง ประจำปี 2556 KPI( 2%) รวม KPI / ปี = 0.265

  11. สรุป ดัชนีความพร้อมใช้งานซ่อมบำรุง ประจำปี 2556 KPI( 100%) รวม KPI / ปี = 99.96 %

  12. สรุป ผลการบำรุงรักษาตามแผนงานซ่อมบำรุง ประจำปี 2556 KPI( 100%) รวม KPI / ปี = 95.04%

  13. สรุป Occurrence Report Form งานซ่อมบำรุง ประจำปี 2556

  14. การบำรุงรักษาประจำปี ตรวจเช็คเครื่องจ่ายน้ำยา(Anionic polymer) ตรวจเช็คซ่อมเครื่องจ่ายคลอรีนแก๊ส

  15. การบำรุงรักษาประจำปี

  16. การบำรุงรักษาประจำปี

  17. งานด้านการบำรุงรักษา

  18. งานด้านการบำรุงรักษา

  19. วิธีการลด Break Down • มีการตรวจสอบเครื่องจักรประจำวัน • บำรุงรักษาเครื่องจักรตามระยะเวลาที่กำหนดให้ครบถ้วน • สำรองวัสดุที่จะใช้ในการบำรุงรักษาให้เพียงพอ • ทำเปลี่ยนอะไหล่ที่ไกล้หมดอายุการงานก่อนที่เครื่องจักรจะชำรุด

  20. ปัญหาในการประชุมทบทวนครั้งที่ 6 • การลงบันทึกข้อมูลในระบบบำรุงรักษา (Pm)ไม่ครบถ้วน • ไม่มีการบันทึกข้อมูลระยะเวลาการหยุดเครื่องจักรที่เสียหลังจากซ่อมเสร็จแล้ว

  21. การแก้ไขปัญหาในการประชุมทบทวนครั้งที่ 6 • ได้มีการแนะให้ลงข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นไปตามความจริง • ได้มีการจัดประชุมและชี้แจ้งให้ลงบันทึกข้อมูลในระบบให้ครบถ้วน(ระยะเวลาในการหยุเครื่องจักร)

  22. ปัญหาจากการตรวจรับรองจาก URS • ให้ปรับแผนการบำรุงรักษาลิฟต์ให้สอดคล้องกับแผนของบริษัทที่จะเข้าดำเนินการบำรุงรักษาระบบลิฟต์และบันไดเลื่อน • แบบฟอร์การตรวจสอบเครื่องทำความเย็นChiller ควรมีการกำหนดค่าเบี่ยงเบนที่ยอมรับได้เพื่อความสะดวกของช่างผู้ควบคุมเครื่องChillerพิจารณาในการตรวจสอบ

  23. การแก้ไขปัญหาจากการตรวจรับรองจาก URS • ในปีงบประมาณ 2557 ทางหน่วยงานได้ดำเนินการเรียกบริษัทที่บำรุงรักษาลิฟต์ประชุม เพื่อปรับแผนการบำรุงรักษาให้สอดคล้องกับแผนการบำรุงรักษาที่ทางโรงพยาบาลกำหนดเพื่อให้เป็นการสอดคร้องตามที่ทางบริษัท URS แนะนำในการจัดทำแผน • ได้เชิญบริษัท Carrier ที่ทำการบำรุงรักษาเครื่อง Chillerเอาค่า มารตฐานของเครื่องมาติดที่หน้าเครื่องChiller เพื่อให้ผู้ควบคุมได้รู้ค่าเบี่ยงเบนของอุณหภูมิน้ำเข้า-น้ำออก และแรงดันน้ำเข้า-น้ำออกของเครื่อง

  24. จบการนำเสนอ

More Related