1 / 33

การประชุมปฏิบัติการ ออกแบบระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

การประชุมปฏิบัติการ ออกแบบระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต. วิทยากร อาจารย์วิชาน กาญจนไพโรจน์ อาจารย์ธัญมาส ตันเสถียร. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ ( LR&D ). ครู เป็นอีกหนึ่งวิชาชีพที่ต้องคิดบวกอยู่เสมอ

dayo
Download Presentation

การประชุมปฏิบัติการ ออกแบบระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมปฏิบัติการ ออกแบบระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต วิทยากร อาจารย์วิชาน กาญจนไพโรจน์ อาจารย์ธัญมาส ตันเสถียร มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ ( LR&D )

  2. ครู เป็นอีกหนึ่งวิชาชีพที่ต้องคิดบวกอยู่เสมอ เพราะรับหน้าที่อันยิ่งใหญ่ คือ รับผิดชอบต่ออนาคตของ ชาติ เด็กทุกคนมาจากต่างฐานะ ต่างความเป็นอยู่ ต่างอารมณ์ ความรู้สึก ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับการจะ ขัดเกลาเด็กที่มีสภาพจิตเป็นบวกอยู่แล้ว แต่สิ่งที่ท้าทาย ความเป็นครูที่สุด คือ การใส่พลังบวกเข้าไปในเด็ก ที่จิตเป็นลบ

  3. จิตวิญญาณครู สิ่งที่สร้างความอิ่มเอิบใจอย่างที่สุดในการเป็นครูที่ปรึกษา คือ การได้เข้าไปมีส่วนร่วมในชีวิตของลูกศิษย์ หลายขวบปีที่ผ่านมา ฉันได้พานพบเรื่องราวที่น่าเศร้าพอสมควร และได้เห็นเช่นกันว่า ลูกศิษย์หลายคนสามารถผ่านช่วงวิกฤติมาได้เพราะครูให้ความสนใจกับชีวิตของพวกเขาควบคู่ไปกับการเรียน จดหมายจากเด็ก ๆ ที่เรียนจบไปแล้วทำให้ฉันรู้สึกดีใจที่ได้เลือกอาชีพนี้ บาร์บาร่า โจนส์ ครูที่ปรึกษา

  4. การประกันคุณภาพสถานศึกษาการประกันคุณภาพสถานศึกษา การประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพภายนอก เน้นการจัดการเชิงกระบวนการ เน้นการประเมินคุณภาพของ มีระบบคุณภาพที่มั่นคง มีการประเมินคุณภาพอย่างสม่ำเสมอเพื่อการปรับปรุง แสดงผลลัพธ์ได้ว่ามาจากกระบวนการที่ดี กระบวนการ ผลลัพธ์

  5. องค์กรหลายระบบ ระบบสนับสนุน ผลผลิต,ผลลัพธ์ ระบบหลัก - ระบบนำองค์กร ระบบเรียนรู้ - ระบบยุทธศาสตร์ - ระบบบริหารจัดการ ระบบดูแลช่วยเหลือฯ - ระบบดูแลคุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ - ระบบพัฒนาบุคลากร ระบบกิจกรรมนักเรียน - ระบบชุมชนสัมพันธ์ ระบบสารสนเทศ

  6. ตัวอย่างวัตถุประสงค์ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างวัตถุประสงค์ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 1. เพื่อให้ครูที่ปรึกษามีกระบวนการทำงานที่สัมพันธ์กับระบบเรียนรู้และ ระบบกิจกรรมนักเรียน 2. เพื่อให้ครูมีกระบวนการทำงานที่สามารถพัฒนาทักษะชีวิตและสร้างเครือข่าย ความร่วมมือกับผู้ปกครองได้อย่างเข้มแข็ง 3. เพื่อให้เกิดการประสานงานในการช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ร่วมกับองค์กรภายในและภายนอกสถานศึกษา 4. เพื่อให้คุณภาพของระบบเป็นส่วนหนึ่งของการประกันคุณภาพและส่งเสริม สิทธิเด็ก 5.เพื่อให้ผู้ปฏิบัติได้ค้นหาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ด้วยกระบวนการ จัดการ ความรู้และประเมินทบทวนการปฏิบัติงานของตนเองอย่างต่อเนื่อง 6. เพื่อให้ครูสามารถนำสารสนเทศจากการทำงานในระบบไปพัฒนา เข้าสู่ตำแหน่ง/วิทยฐานะที่สูงขึ้น

  7. การดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ปรึกษาการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของครูที่ปรึกษา ระบบดูแล ช่วยเหลือ นักเรียน สร้างเครือข่ายผู้ปกครอง ส่งต่อภายใน

  8. มาตรฐาน ระบบที่ดี=ระบบคุณภาพ มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของโรงเรียน มาตรฐานและตัวบ่งชี้ ระบบ ย่อย ตัวบ่งชี้ กระบวนการ วิธีการ บันทึก วางระบบ(Plan) ทำตามระบบ (Do) แก้ไข/พัฒนาระบบ(Action) ข้อมูลสารสนเทศ (ตัวชี้วัดระบบและเกณฑ์) ตรวจสอบ/ประเมินระบบ(Check)

  9. วิเคราะห์จุดอ่อน/จุดแข็งของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนวิเคราะห์จุดอ่อน/จุดแข็งของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

  10. R1 : ระเบียนสะสม สารสนเทศ ควรประกอบด้วย 1. ข้อมูลส่วนตัว 2. ข้อมูลครอบครัว (เศรษฐกิจ การคุ้มครองตามสิทธิเด็ก) 3. ข้อมูลสุขภาพกาย/จิต 4. ข้อมูลความสามารถ ความสนใจตามพหุปัญญา 5. ข้อมูลการเรียน (ผลการเรียน ,GPA , NT , O-NET , A-NET) 6. ข้อมูลพฤติกรรม (เพศ , สารเสพติด) 7. ข้อมูลแผนที่การเดินทางระหว่างบ้าน กับ โรงเรียน 8. ข้อมูลอื่น ๆ ตามนโยบายต้นสังกัดหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเยาวชน หมายเหตุ ข้อมูลแต่ละด้านที่เปลี่ยนแปลงแต่ละปีการศึกษาควรบันทึกเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่องให้เป็นปัจจุบัน แหล่งข้อมูล 1. บัตรสุขภาพ 2. ปพ. 4 ,ปพ. 5, ปพ. 6 3. การสังเกต 4. การเยี่ยมบ้าน 5. การสัมภาษณ์ 6. ข้อมูลจากบันทึกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

  11. คำถามขั้นรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลคำถามขั้นรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล • ความเหมาะสมของระเบียนสะสม • ตัวชี้วัดและเกณฑ์ที่เหมาะสมกับโรงเรียนของเรา • ควรใช้เครื่องมือใดบ้างในการเก็บข้อมูล • วิธีการ/ช่วงเวลาในการเก็บข้อมูลจากเครื่องมือตามข้อ 3 • วิธีปฏิบัติในการสังเคราะห์ข้อมูล • การส่งเสริมให้ครูที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลไปใช้ • การส่งต่อข้อมูลในแต่ละปีการศึกษา

  12. R2 : สรุปการคัดกรอง • ผลการคัดกรองควรจำแนก ดังนี้ • คัดกรองด้านสุขภาพกาย/สุขภาพจิต • คัดกรองด้านผลการเรียน • คัดกรองด้านความสามารถตามพหุปัญญา • คัดกรองด้านเศรษฐกิจ • คัดกรองด้านการได้รับการคุ้มครอง • คัดกรองด้านปัญหายาเสพติด • คัดกรองด้านพฤติกรรมทางเพศ

  13. ข้อเสนอแนะ • การคัดกรองควรใช้ข้อมูลจากระเบียนสะสมที่ได้รับ • การตรวจสอบความถูกต้อง • 2. การคัดกรองทางจิตควรใช้เครื่องมือหลายอย่าง เช่น • SDQ, EQ, แบบประเมินทักษะชีวิต ฯลฯ • 3. ต้องกำหนดเกณฑ์การคัดกรองให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน • ทั้งโรงเรียน • 4. ควรดำเนินการคัดกรองปีการศึกษาละ 2 ครั้ง

  14. คำถามขั้นคัดกรอง • ความเหมาะสมของแบบบันทึกและตัวชี้วัด • เครื่องมือที่ใช้ในการคัดกรองเพิ่มเติม • เครื่องมือที่ใช้ค้นหาสาเหตุของปัญหา

  15. การคัดกรองนักเรียน ด้านสุขภาพ ด้านครอบครัว ด้านอื่น ๆ ด้านความสามารถ การเรียน การใช้สารเสพติด ศักยภาพ กาย จิต เศรษฐกิจ การคุ้มครอง เพศ ระเบียนสะสม อื่น ๆ ระเบียนสะสม อื่น ๆ ระเบียนสะสม อื่น ๆ ระเบียนสะสม อื่น ๆ ระเบียนสะสม อื่น ๆ ระเบียนสะสม อื่น ๆ สัมพันธภาพทางสังคม อารมณ์ ความประพฤติ/เกเร อยู่ไม่นิ่ง ความสัมพันธ์กับเพื่อน SDQ SDQ SDQ SDQ SDQ EQ สมุดการดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบบคัดกรองและช่วยเหลือ (เฉพาะนักเรียนที่มีความเสี่ยง/มีปัญหา) บันทึกลงใน

  16. ทำแบบครู ครูสอนเรื่องตอกไม้ไผ่ในหนังสือ เสียงศิษย์อื้ออึงเพื่อช่วยครูอ่าน จักสานด้วยชอล์กและกระดาน ให้ฝึกเป็นการบ้านเป็นประจำ

  17. สื่อที่ดี • สอดคล้องจุดประสงค์ (K,A,P) • ตรงเนื้อหา • น่าสนใจ • เหมาะสมกับวัย • สะดวกใช้

  18. การวัดผลตามสภาพจริง

  19. แบบประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้แบบประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้ 6 7 8 9 10

  20. พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เป็นK(Knowledge) พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เป็นK(Knowledge)

  21. พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เป็น A(Attitude)

  22. พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เป็น P(Practice)

  23. R8 : สรุปผลการปฏิบัติด้านกระบวนการ ชื่อครูที่ปรึกษา...............................ชั้น..............

  24. R9 : ผลลัพธ์ด้านผู้เรียน ชั้น................................

  25. N1 : บันทึกการสัมภาษณ์ผู้ปกครอง • ประเด็นที่ควรสัมภาษณ์ • วิธีการเลี้ยงดู/สัมพันธภาพในครอบครัว • พฤติกรรมของนักเรียนเมื่ออยู่ที่บ้าน/กิจกรรมที่ปฏิบัติประจำ • ความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน • ความต้องการการดูแลจากครูที่ปรึกษา/โรงเรียน • ความภูมิใจในตัวนักเรียน • ความหวัง/ความต้องการของผู้ปกครอง • สุขภาพของนักเรียน

  26. N2 : บันทึกการสัมภาษณ์นักเรียน ชื่อนักเรียน...........................................ชั้น............ สัมภาษณ์วันที่.........เดือน...................พ.ศ.........เวลา.................. • ประเด็นที่ควรสัมภาษณ์ • ความหวัง/ความต้องการ/อุดมการณ์ของชีวิต • จุดเด่น/ความสามารถ/ความสนใจ/ความภาคภูมิใจ • จุดที่ต้องการพัฒนาและขอคำแนะนำจากผู้เกี่ยวข้อง • ปัญหาการเรียนและความสัมพันธ์กับครู • ปัญหา/ความกังวลใจที่เกิดจากครอบครัว • ปัญหาความกังวลใจที่เกิดจากเพื่อน/การคบเพื่อน • กิจวัตรประจำวันที่ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ • ชอบ/ไม่ชอบอะไร เหตุผล

  27. N3 : บันทึกการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ชื่อ....................................ชั้น.................วันที่สังเกต..............................

  28. บันทึกรายงานผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนบันทึกรายงานผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ชื่อครูที่ปรึกษา..................................ชั้น................ภาคเรียนที่.....ปีการศึกษา..................

  29. บันทึกรายงานผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนบันทึกรายงานผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

  30. กระบวนทัศน์การประกันคุณภาพภายในกระบวนทัศน์การประกันคุณภาพภายใน

More Related