1 / 12

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง

1. การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง. “การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”. โดย รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ( นายช ลิต ดำรงศักดิ์). ประเด็น. แนวทางการพัฒนา การบริหาร การบูร ณา การการทำงาน

Download Presentation

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง “การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง” โดย รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (นายชลิต ดำรงศักดิ์)

  2. ประเด็น • แนวทางการพัฒนา • การบริหาร • การบูรณาการการทำงาน • การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ • การแก้ไขปัญหา

  3. แนวทางการพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดแนวทางการพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด การพัฒนา สร้าง ให้ตนเอง Smart Officer บูรณาการ งานกระทรวง สู่การปฏิบัติ นโยบาย การทำงาน เป็นระบบ คนทำงาน มีศักยภาพ นำ สู่เกษตรกร การตอบสนองปัญหา ความต้องการ ผู้รับบริการ ระบบรับฟังความคิดเห็นและประมวลแนวทางการแก้ไขปัญหา (กระบวนการมีส่วนร่วมกับภาคส่วนต่างๆ) การทำงานเชิงรุก ป้องกันปัญหาในพื้นที่

  4. การบริหาร หลักคิด การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ด้านโครงสร้าง (Design) ด้านงบประมาณ (Support) เงิน งาน คน ด้านคน (Team Work) ด้านเนื้อหา (Concept) บูรณาการ : บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกันของหน่วยงาน สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด

  5. การบริหาร หลักการ นโยบาย....ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภาครัฐในสังกัด กษ. ภาครัฐนอกสังกัดกษ. เครือข่ายเกษตรชุมชน บูรณาการระดับจังหวัด ประชาชน/ท้องถิ่น ทิศทางการพัฒนา....ของ ยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด

  6. บูรณาการการทำงาน ตัวอย่าง รูปแบบของการทำงาน เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการบูรณาการการทำงาน 1. เป็นงานที่ต้องใช้ความชำนาญ หรือทักษะเฉพาะที่ใกล้เคียงกัน ของแต่ละหน่วยงาน 2. เป็นงานที่ต้องใช้การส่งต่อผลผลิต 3. เป็นงานที่ใช้ทักษะเฉพาะที่แตกต่าง ของแต่ละหน่วยงาน 4. เป็นงานที่ใช้ภารกิจคาบเกี่ยวกัน ระหว่างหน่วยงาน

  7. การบูรณาการการทำงาน 5. เป็นงานที่ต้องใช้การแลกเปลี่ยน เรียนรู้วิธีการทำงานระหว่างหน่วยงาน 6. เป็นงานที่ต้องเชื่อมโยงการทำงาน ระหว่างหน่วยงาน 7. เป็นงานที่ต้องร่วมมือกัน หลายหน่วยงาน

  8. การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ

  9. การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การถ่ายทอดแผนประเทศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555 – 2559) แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2555 - 2558 ยุทธศาสตร์ประเทศ Country Strategy 2556 - 2561 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555 - 2559) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ. 2555 - 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงการสำคัญ ปี 2557 (Flagship Project) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  10. การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ประเทศไทย ต่างประเทศ ภาคการเกษตร 5. ความมั่นคงด้านอาหาร และพลังงาน 6. เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 7. เศรษฐกิจเกษตร สีเขียว 8. ความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างประเทศ 1. โครงสร้างพื้นฐาน 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้เกษตรกร 3. ส่งเสริมการทำการเกษตรตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ 9. พัฒนาบุคลากร/โครงสร้าง กษ. พันธกิจ การขับเคลื่อน ประยุกต์ใช้เศรษฐกิจ พอเพียง 8 โครงการสำคัญ (FlagshipProject) ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วิสัยทัศน์ เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนมีความมั่นคงด้านอาหาร เป็นฐานรายได้ให้แผ่นดิน ส่งเสริม การวิจัยพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี ส่งเสริมด้านการผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร จัดสรรทรัพยากร การผลิตทางการเกษตร ยุทธศาสตร์ พัฒนาทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ สมดุล และยั่งยืน พัฒนาคุณภาพชีวิต เกษตรกร พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต การจัดการสินค้าเกษตร และความมั่นคงอาหาร ที่มา: แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)

  11. การแก้ไขปัญหา “ภารกิจต่างๆ ที่จะตอบสนองความต้องการของประชาชนในอนาคต ส่วนใหญ่จะเป็นการแก้ปัญหา ดังนั้น ต้องจำแนกปัจจัย และมองวิธีการแก้ไขให้ออก” โลกในวันข้างหน้า เป็นโลกแห่งการแก้ไขปัญหา วิธีการแก้ปัญหา จำแนกประเด็นปัญหา วิเคราะห์ สาเหตุ กำหนด วิธีแก้ไข ลงมือ ปฏิบัติ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค

  12. การแก้ไขปัญหา สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ระหว่าง - หน่วยงานรัฐ - เกษตรกร - เอกชน - สถาบันการศึกษา - ภาคส่วนต่างๆ เพื่อระดมความเห็นข้อเสนอ ความต้องการแนวทางการแก้ไขปัญหา ในพื้นที่ (รองปลัดฯ / ผู้ตรวจฯ เป็นประธาน) สร้างเวทีรับฟังความเห็น เพื่อป้องกัน การขยายตัวของปัญหา รวบรวมข้อมูล ผลกระทบ ด้านการเกษตร - ปัจจัยเสี่ยง - ความขัดแย้ง - ประเด็นปัญหา - การรวมกลุ่ม เพื่อเรียกร้อง - ประเด็นการเมือง ในพื้นที่ ข้อมูล/ข่าว ในพื้นที่ กรณีปัญหาความ ขัดแย้งที่มีแนวโน้ม ที่จะยกระดับ สู่การรวมกลุ่ม เพื่อเรียกร้อง ปัญหาเร่งด่วน ประมวลข้อมูล นำเสนอผู้ว่าฯ และบูรณาการ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหา ปัญหาเชิงนโยบาย รวบรวมข้อมูลเสนอ ผู้บริหารกระทรวง เพื่อกำหนดวิธีการแก้ไข แก้ไขปัญหาในพื้นที่ และเตรียมการป้องกัน

More Related