1 / 28

โดย

วิสัยทัศน์ เป้าหมายการดำเนินงานตามภารกิจสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.). โดย นางระรินทิพย์ ศิโรรัตน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานส่งเสริม สวัสดิ ภาพและพิทักษ์ เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ. อำนาจหน้าที่ของ สท. 1.

Download Presentation

โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิสัยทัศน์ เป้าหมายการดำเนินงานตามภารกิจสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ(สท.) โดย นางระรินทิพย์ ศิโรรัตน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ

  2. อำนาจหน้าที่ของ สท. 1 เสนอแนะแนวทางการส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย เสริมสร้างมาตรการและกลไกในแนวทางการส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิ กลุ่มเป้าหมาย 2 3 ส่งเสริมสนับสนุนทางวิชาการและทรัพยากรในการดำเนินการของเครือข่าย 4 กำหนดมาตรการการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมศักยภาพและบทบาททางสังคมของกลุ่มเป้าหมาย 5 6 พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย ประสานและสนับสนุนข้อมูลด้านการส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ กลุ่มเป้าหมาย 7 ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ สท. 8

  3. กฎหมายและกลไก การสนับสนุนภารกิจ สท. กลไกที่สำคัญ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมสนับสนุนวิชาการและทรัพยากร • - พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 • - พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 • - พ.ร.บ.หอพัก พ.ศ. 2507 • - พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 • - พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ สังคม พ.ศ.2546 • อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก • กฎหมายระหว่างประเทศอื่น,พิธีสาร................................ • ระดับชาติ • - กดยช. • กผส. • ก.ส.ค. • กคค. - อุดหนุนเงินสภาเด็กและเยาวชน - อุดหนุนเงินให้กับองค์เอกชนในการทำงานด้านผู้ด้อยโอกาส - ค่าจัดการศพผู้สูงอายุ ระดับพื้นที่ - พมจ. , สสว. , ศพส. - สภาเด็กและเยาวชน - อผส - อปท. • คู่มือวิชาการและแนวทางการดำเนินงาน • องค์ความรู้ • การติดตามประเมินผล เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ

  4. สถานการณ์และแนวโน้มกลุ่มเป้าหมายสถานการณ์และแนวโน้มกลุ่มเป้าหมาย จำนวนประชากรจำแนกตามกลุ่มเป้าหมายเปรียบเทียบสัดส่วนร้อยละของจำนวนประชากรทั้งประเทศ

  5. สถิติประชากรกลุ่มเป้าหมายสถิติประชากรกลุ่มเป้าหมาย ด้านเด็ก (อายุ 0-17 ปี) ที่มา : รายงานการพัฒนาเด็กและเยาวชน ประจำปี 2554

  6. แนวโน้มประชากรเด็ก ปี 2555 - 2559 ด้านเด็ก (อายุ 0-17 ปี) ที่มา : การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573 สศช.

  7. แนวโน้มประชากรเยาวชน ปี 2555 - 2559 ด้านเยาวชน (อายุ 18 - 25 ปี) ที่มา : การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573 สศช.

  8. สถานการณ์ สถานการณ์ปัญหาเด็กและเยาวชน จำนวนรวมทั้งสิ้น 542,141 คน ที่มา : รายงานสถานการณ์ทางสังคมของท้องถิ่น ปี 2554 (สำรวจจาก อปท. ทั่วประเทศ)

  9. สถิติประชากรผู้ด้อยโอกาสสถิติประชากรผู้ด้อยโอกาส ผู้ด้อยโอกาส จำนวน 5 กลุ่ม ที่มา : สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส 2556

  10. สถิติประชากรด้านผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ผู้สูงอายุจำนวนรวมทั้งสิ้น 8,170,909 คน คิดเป็นร้อยละ 12.68 ของประชากรทั้งประเทศ จำนวนผู้สูงอายุจำแนกตามเพศ ปี 2551 – 2555

  11. แนวโน้มประชากรผู้สูงอายุ ปี 2555 - 2559 ด้านผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ้นไป) ที่มา : การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573 สศช.

  12. ผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านเด็กผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านเด็ก

  13. ผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านเยาวชนผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านเยาวชน

  14. ผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านผู้ด้อยโอกาสผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านผู้ด้อยโอกาส

  15. ผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านผู้สูงอายุผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านผู้สูงอายุ

  16. การพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย

  17. ทิศทางการดำเนินงานของ สท. • แผนพัฒนาเด็กและเยาวชน แห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 • ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส พ.ศ. 2556-2559 • แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545-2564 - ยุทธศาสตร์ชาติ - นโยบายเร่งด่วน 16 ข้อ - การพัฒนาคนตามช่วงวัย - การจัดตั้งศูนย์พัฒนา คุณภาพชีวิตส่งเสริม อาชีพผู้สูงอายุ - โครงการจัดทำบัตร ผู้สูงอายุ (Senior Care Card) - โครงการสูงวัยใจ อาสาช่วยเหลือสังคม

  18. ภารกิจ สท. ภายใต้แนวยุทธศาสตร์ชาติ GROWTH & COMPETITIVENESS INCLUSIVE GROWTH GREEN GROWTH INTERNAL PROCESS ด้านเกษตร ภาคอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและบริการ โครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน การเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค การปรับขีดความ สามารถในการแข่งขัน R&D • การพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา • การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข • การดูแลผู้สูงอายุ เด็ก สตรี และผู้ด้อยโอกาส • การสร้างโอกาสและรายได้ แก่ SMEs และเศรษฐกิจชุมชน • แรงงาน • ระบบยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ • การต่อต้านการคอร์รัปชั่น สร้างธรรมาภิบาลและความโปร่งใส • การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ • การลดการปล่อย GHG • นโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม • การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและบริหารจัดการน้ำ • การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ กรอบแนวทางและการปฏิรูปกฎหมาย การปรับโครงสร้างระบบราชการ การพัฒนากำลังคนภาครัฐ การปรับโครงสร้างภาษี การจัดสรรงบประมาณ การพัฒนาสินทรัพย์ราชการที่ไม่ได้ใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความมั่นคงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ การปฏิรูปการเมือง

  19. การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (Life Cycle Approach) “สร้างพ่อแม่คุณภาพ” ช่วงตั้งครรภ์ “ปลูกฝังภูมิคุ้มกันทั้งทางกายและใจ” ช่วงทารก (แรกเกิด – 3 ปี) “ ปลูกฝังวินัยเชิงบวกและเข้าถึงบริการ ศูนย์เด็กเล็กที่ได้มาตรฐาน” ช่วงอนุบาล (3 – 6 ปี) ช่วงประถม (6 – 12 ปี) “พัฒนาทักษะชีวิต “รู้รักห่วงใยตนเอง” ช่วงวัยรุ่น (12 – 18 ปี) “สร้างจิตอาสา พัฒนาสังคม” ช่วงเยาวชน (18 – 25 ปี) “ส่งเสริมศักยภาพ และคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ” ช่วงเยาวชน (60 ปีขึ้นไป)

  20. โครงการที่สำคัญตามแนวทางการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิตโครงการที่สำคัญตามแนวทางการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต

  21. การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล

  22. การดำเนินงานตามภารกิจพื้นฐานแห่งรัฐการดำเนินงานตามภารกิจพื้นฐานแห่งรัฐ ด้านเด็ก สถานการณ์เด็ก เด็กแรกเกิด - 18 ปี จำนวน 15,851,685 คน ร้อยละ 25.03 คำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นหลัก แนวทางการดำเนินงาน • ด้านการพัฒนา • การพัฒนาเด็กและเยาวชนตามวงจรชีวิต • (Life Cycle Approach) • การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ • การพัฒนาคุณภาพเด็ก • การสร้างคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ • ด้านการคุ้มครอง • การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและคุ้มครองเด็ก(Child Protection Monitoring and Response System) • นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็กและเยาวชน • หลักสูตรการอบรมเลี้ยงดูเด็กโดยไม่ใช้ความรุนแรง (วินัยเชิงบวก)

  23. ด้านเยาวชน สถานการณ์เยาวชน อายุ 18-25 ปี จำนวน 7,467,842 คน ร้อยละ 11.59 เด็กและเยาวชนมีความมั่นคง แข็งแรง ดี มีสุข และสร้างสรรค์ แนวทางการดำเนินงาน • ด้านการพัฒนา • เสริมสร้างบทบาทสภาเด็กและเยาวชน • สร้างพลังเยาวชนไทยร่วมใจพัฒนาชาติ • พัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อพัฒนาเยาวชน • ส่งเสริมสิทธิการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนไทยในประชาคมอาเซียน • เยาวชนไทยหัวใจใสสะอาด • ด้านการคุ้มครอง • เสริมสร้างเยาวชนไทยห่างไกล ความรุนแรง • เยาวชนสร้างสรรค์รู้เท่าทันเรื่องเพศ • ส่งเสริมการดำเนินกิจการหอพักให้เป็นไปตามกฎหมาย

  24. ด้านผู้ด้อยโอกาส ผู้ด้อยโอกาส 5 กลุ่ม จำนวน 9,554,958 คน - คนยากจน (8,800,000 คน) - คนเร่ร่อน (7,288 คน) - ผู้พ้นโทษ (118,578 คน) - ผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร์ (351,775 คน) - ผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอดส์ และผู้ได้รับผลกระทบ (276,947 คน) พึ่งตนเองได้ ได้รับการยอมรับเข้าถึงสิทธิ มีส่วนร่วมในการพัฒนา แนวทางการดำเนินงาน • ด้านการพัฒนา • สนับสนุนบทบาทองค์กรพัฒนาเอกชนในการดำเนินงานพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส • ยกย่องคนดีในสังคม • เสริมพลังภาคประชาสังคมท้องถิ่น • ส่งเสริมบทบาท NGO ด้านการพัฒนา • ด้านการคุ้มครอง • การคุ้มครองผู้ด้อยโอกาสระดับชุมชน • ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมของผู้ด้อยโอกาส เพิ่มช่องทางการเข้าถึงสิทธิ • พัฒนาฐานข้อมูลผู้ด้อยโอกาส • ส่งเสริมกระบวนการคุ้มครองระดับชุมชน

  25. ด้านผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุ จำนวน 8,170,909 คน แบ่งเป็นช่วงอายุ ดังนี้ อายุ 60 – 69 ปี : 4,133,163 คน อายุ 70 – 79 ปี :2,403,819 คน อายุ 80 ปีขึ้นไป : 956,245 คน “ผู้สูงวัย เป็นหลักชัย ของสังคม” - ผู้สูงอายุมีคุณค่า - ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี แนวทางการดำเนินงาน • ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ • เสริมสร้างสังคมผู้สูงอายุไทยให้มีคุณภาพ • กองทุนผู้สูงอายุ • ขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • สนับสนุนการจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี

  26. แนวทางการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุแนวทางการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้มีสถานที่ในชุมชนสำหรับการจัดกิจกรรมและบริการต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้มีสุขภาพกาย จิต และสังคมที่ดี รวมทั้งส่งเสริมให้มีการสร้างอาชีพและการถ่ายทอดภูมิปัญญา จำนวน 878 พื้นที่ (อำเภอละ 1 แห่ง) ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ • ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์/มาตรการด้านผู้สูงอายุสู่การปฏิบัติ เพื่อส่งเสริมให้เกิดสังคมคุณภาพสำหรับผู้สูงอายุ • พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การเสริมสร้างสังคมผู้สูงอายุไทย ให้มีคุณภาพ • สนับสนุนเงินทุนประกอบอาชีพให้ผู้สูงอายุทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม • สนับสนุนเงินทุนการจัดทำโครงการให้กลุ่ม/องค์กร/เครือข่าย กองทุนผู้สูงอายุ

  27. ประเด็นท้าทาย • ด้านเด็ก ....เช่น..การสร้างค่านิยมในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม......อัตราการเกิดลดลง • ด้านเยาวชน....เช่น...ปลูกฝังให้มีจิตอาสาและรับผิดชอบสังคม.................. • ด้านผู้ด้อยโอกาส.....เช่น..ป้องกันผู้ด้อยโอกาสรายใหม่ อันมีผลมาจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน......................... • ด้านผู้สูงอายุ....เช่น....ส่งเสริมการใช้ศักยภาพ........................................ • ด้านเครือข่าย.....เช่น..การบูรณาการการทำงานของเครือข่ายอย่างเป็นระบบ... • อื่นๆ ..เช่น..การเตรียมความพร้อมประชากรเมื่อเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ.....

  28. ขอขอบคุณ สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ

More Related