1 / 34

การติดตามประเมินผลและรายงาน ของสำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การติดตามประเมินผลและรายงาน ของสำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ 2557. ผู้อำนวยการสำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แนวคิด การติดตามและประเมินการบริหารจัดการของ สพท. ทำไมต้อง มีการติดตามและประเมินผล การบริหารจัดการของ สพท.

Download Presentation

การติดตามประเมินผลและรายงาน ของสำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การติดตามประเมินผลและรายงานการติดตามประเมินผลและรายงาน ของสำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ 2557 ผู้อำนวยการสำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  2. แนวคิดการติดตามและประเมินการบริหารจัดการของ สพท.

  3. ทำไมต้องมีการติดตามและประเมินผล การบริหารจัดการของ สพท. ประโยชน์ของการติดตามและประเมินผล การบริหารจัดการของ สพท. ประเด็นหลัก เป้าหมายความสำเร็จของการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของ สพท. แนวทางการดำเนินงานติดตามฯ ให้บรรลุเป้าหมาย.

  4. 1.ทำไมต้องมีการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของ สพท. 1.1 หน่วยงาน สพฐ. สพป. 183 เขต สถานศึกษา 31,021 โรง สพฐ. สพม. 42 เขต

  5. 1.ทำไมต้องมีการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของ สพท. 1.2 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 39 แห่ง พรบ.กศ.แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 “ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและจัดการ.... ไปยังคณะกรรมการ สพท. และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง”

  6. 1.ทำไมต้องมีการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของ สพท. 1.2 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 44 แห่ง พรบ.ระเบียบบริหารราชการ ศธ. พ.ศ. 2556 “ให้... เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน... กระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษา... ไปยังคณะกรรมการ เขตพื้นที่การศึกษา สพท. และสถานศึกษา โดยตรง...”

  7. 1.ทำไมต้องมีการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของ สพท. 1.3 การติดตามและประเมินผล เป็นขั้นตอนสำคัญบ่งบอกถึงความสำคัญของการกระจายอำนาจบริหาร และจัดการไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เป็นการสนับสนุน ส่งเสริม กำกับ ดูแลให้การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ดังนั้น การติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของ สพท. ต้องดำเนินงานคู่ไปกับการกระจายอำนาจ

  8. 2.ประโยชน์ของการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการของ สพท. นำผลไปใช้รองรับการเปลี่ยนแปลงและสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ช่วยผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน -กำกับ ทบทวน พัฒนางาน -ปรับปรุง ตรวจสอบผลงานเป็นไปตาม วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด -บ่งบอกความก้าวหน้า ผลที่เกิดขึ้น ปัญหาอุปสรรค -วางแผน พัฒนางานได้เหมาะสม -แก้ปัญหาได้ถูกจุด -สร้างขวัญกำลังใจ

  9. 3.เป้าหมายความสำเร็จของการติดตามและประเมินผล การบริหารจัดการของ สพท. 3.1 สพฐ. มีข้อมูลสารสนเทศการบริหารจัดการศึกษาที่เชื่อถือได้ ชัดเจน ครอบคลุมต่อความต้องการใช้ข้อมูลทุกระดับ 3.2 มีระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการ สพท. ที่มีประสิทธิภาพอย่างมีประสิทธิผล 3.3 การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สพฐ. ที่เข้มแข็ง

  10. Title in here Title in here Title in here 4.แนวทางการดำเนินงานติดตามฯ ให้บรรลุเป้าหมาย 4.1.1ทำงานร่วมกันระหว่าง สพฐ.- สพท.และสถานศึกษา อย่างสร้างสรรค์ 4.1.2 เน้นการปฏิบัติงานเพื่อปรับปรุง ส่งเสริม สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง 4.1.3 มีการบูรณาการการทำงานร่วมกัน เชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศ เพื่อลดความซ้ำซ้อน สิ้นเปลือง ลดภาระงานเอกสาร 4.1 การปฏิบัติงาน

  11. 4.แนวทางการดำเนินงานติดตามฯ ให้บรรลุเป้าหมาย 4.2.1 ใช้รูปแบบการติดตามและประเมินผลที่หลากหลายและ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เช่น Online 4.2.2 การกำหนดกรอบตัวชี้วัด/ประเด็นการติดตามและ ประเมินผล -มีจำนวนเท่าที่จำเป็นและเพียงพอตรงต่อความต้องการ ใช้ข้อมูล -ง่าย ชัดเจน เข้าใจตรงกัน 4.2.3 การกำหนดช่วงระยะเวลาติดตามและประเมินผล ที่เหมาะสม ปฏิบัติได้ตรงความต้องการเป็นไปได้ของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4.2 วิธีการ

  12. 4.แนวทางการดำเนินงานติดตามฯ ให้บรรลุเป้าหมาย 4.2.4 เน้นการปฏิบัติติดตามและประเมินผลที่แท้จริง ไม่เอนเอียง การสะท้อนผลที่ถูกต้องเป็นจริง อย่างสร้างสรรค์ 4.2.5 ใช้องค์คณะบุคคลมีส่วนร่วมเพื่อการติดตามและ ประเมินผล เช่น ก.ต.ป.น. อกคศ. เขตพื้นที่ 4.2.6 สร้างเครือข่ายการติดตามและประเมินผลทั้งภายใน และภายนอกหน่วยงาน 4.2.7 พัฒนาศักยภาพของผู้ดำเนินการติดตามและประเมินผล 4.2 วิธีการ

  13. 4.แนวทางการดำเนินงานติดตามฯ ให้บรรลุเป้าหมาย 4.3.1 มีระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูลกลาง เพื่อลด ความซ้ำซ้อนในการ จัดทำผลต่อหน่วยงาน รวมทั้งการเผยแพร่ต่อ สารธารณะ 4.3.2 การใช้ข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากผลการติดตามและประเมินผล -สร้างขวัญกำลังใจ ให้รางวัล ยกย่องเชิดชูเกียรติ -พัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน -เป็นข้อเสนอเชิงนโยบายพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4.3 ระบบข้อมูลสารสนเทศ

  14. แบบติดตามและประเมินผล : สตผ.01, สตผ.02 , สตผ.03 , สตผ.04 สตผ.01 Text in here Text in here สตผ.01/3 สตผ.01/4 สตผ.01/1 สตผ.01/2 แบบติดตามฯ องค์ประกอบที่ 4 แบบติดตามฯ องค์ประกอบที่ 1 แบบติดตามฯ องค์ประกอบที่ 2 แบบติดตามฯ องค์ประกอบที่ 3 ด้านนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ด้านโอกาสทางการศึกษา ด้านคุณภาพการศึกษา ด้านประสิทธิภาพทางการศึกษา

  15. ด้านโอกาสทางการศึกษา มี 2 องค์ประกอบ 7 ตัวชี้วัด หมายถึง การให้โอกาส ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กทุกกลุ่ม* ได้รับการศึกษา ขั้นพื้นฐานและพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันตามสิทธิและเป็นธรรม * ได้แก่ 1. เด็กปกติ 2. เด็กด้อยโอกาส เด็กชายขอบ/ต่างด้าว3. เด็กพิการ4. เด็กที่มีความสามารถพิเศษ 5. เด็กในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในการให้บริการการศึกษาอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และเท่าเทียมกันแก่ประชากรวัยเรียนทุกกลุ่มอายุ 2. เพื่อนำข้อมูลมากำหนดนโยบายและวางแผนส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษา

  16. ด้านคุณภาพ การจัดการศึกษาในปัจจุบันนอกจากให้ทั่วถึงแล้วยังมุ่งเน้นในเรื่องของคุณภาพของผู้เรียนที่เป็นไปตามมาตรฐานของหลักสูตร หน่วยงาน ที่รับผิดชอบนับตั้งแต่สถานศึกษา ต้นสังกัด หน่วยงานระดับชาติ ที่ได้รับมอบหมาย จึงมีบทบาทหน้าที่ในการตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนตามความคาดหวังของหลักสูตร ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดให้มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ โดยทุกระดับมีเจตนารมณ์เช่นเดียวกันคือ ตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อนำผลการประเมินมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การวัดด้วยเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ และเป็นที่ยอมรับคือการพัฒนาตามระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยการวัดผลประเมินผลสะท้อนมาตรฐาน (Standards-based Assessment) เพื่อให้กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบหลัก 2 องค์ประกอบ 1. การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร (ปัญญาดี มีทักษะ) ประกอบด้วยตัวชี้วัด 10 ตัวชี้วัด 2. การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทย วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มีคุณธรรม จริยธรรม) ประกอบด้วยตัวชี้วัด 3 ตัวชี้วัด

  17. ด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2557 ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการองค์การสู่ความเป็นเลิศ มาตรฐานที่ 2การบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ มาตรฐานที่ 3 ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มี 4 ตัวบ่งชี้ มี 5 ตัวบ่งชี้ มี 8 ตัวบ่งชี้

  18. ด้านนโยบายสำคัญของ สพฐ. วัตถุประสงค์ หมายถึง ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดการศึกษาของชาติ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน ในระดับสากลและสอดคล้องกับสังคมโลกยุคใหม่ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยพลังของสังคม ทั้งมวลมาช่วยกันขับเคลื่อนและผลักดัน ทำเรื่อง ที่ยากและท้าทาย เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของไทย ทั้งนี้ เน้นส่งเสริมให้ภาคเอกชนที่มีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบร่วมจัด และสนับสนุนการศึกษา ถือว่าเป็นกำลังสำคัญของประเทศ โดยกำหนดนโยบายที่จะเร่งรัดดำเนินการทั้งหมด 8 ข้อ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและ ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. สร้างความเข้มแข็งของกลไกการวัดผล ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. สรุปรายงานผลสำเร็จของนโยบายทั้ง 6 ข้อ นำเสนอต่อกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเป็นข้อมูลสำคัญประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารในการกำหนดนโยบาย หรือทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

  19. การรายงานการติดตามและประเมินผลการรายงานการติดตามและประเมินผล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic monitoring and evaluation system : e–MES) ปีงบประมาณ 2557

  20. ระบบติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระบบติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ของสำนักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน e electronic M Monitoring e–MES & E Evaluation (อี-เอ็มอีเอส) S System

  21. คู่มือการรายงาน การติดตามและประเมินผลสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ปีงบประมาณ 2557

  22. เข้าเว็บไซต์ http://210.1.20.61/emesobec

  23. เลือกภาคและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลือกภาคและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

  24. เลือกโรงเรียน แล้วลงชื่อเข้าใช้ซึ่งอยู่มุมบนขวามือของเว็บไซต์

  25. ลงชื่อเข้าใช้โดยใช้ User E-mail ที่ สตผ.สร้างขึ้น

  26. ลงชื่อเข้าใช้โดยใช้ User E-mail ที่ สตผ.สร้างขึ้น User = school2701XXXX@emes.com Password = 2701XXXX

  27. จะปรากฏหน้าเว็บไซต์ของโรงเรียนและให้คลิกเลือก “ข้อมูลด้านโอกาสทางการศึกษา)

  28. จะปรากฏตารางติดตามและประเมินผลฯ 5 ตาราง ตามเมนู

  29. คลิกที่เมนูตารางที่จะกรอกข้อมูล จะปรากฏชื่อไฟล์ของตาราง

  30. ให้ดาวน์โหลดไฟล์ทั้งหมด บันทึกไว้ในเครื่องเพื่อกรอกข้อมูล

  31. เมื่อกรอกข้อมูลตามแบบแล้วให้บันทึกข้อมูลโดยไม่เปลี่ยนชื่อไฟล์เมื่อกรอกข้อมูลตามแบบแล้วให้บันทึกข้อมูลโดยไม่เปลี่ยนชื่อไฟล์

  32. อัพโหลดไฟล์โดยใช้ชื่อไฟล์เดิมที่ดาวน์โหลดมาอัพโหลดไฟล์โดยใช้ชื่อไฟล์เดิมที่ดาวน์โหลดมา

  33. ปฏิทินกำหนดการปฏิบัติงาน 1. สพท. รายงานผลทาง e-MES - ระดับสถานศึกษา ส่งข้อมูลให้ เขต :18 ส.ค. 57 - ระดับเขต. ส่งข้อมูลให้ สตผ. : 22 ส.ค. 57 ระดับภาค : 22 ส.ค. 57 - ระดับภาค ส่งข้อมูลให้ สตผ. : 5 ก.ย. 57 2. สตผ. กลั่นกรองข้อมูล : 25 ก.ย. 57 3. สตผ. จัดทำรายงานผล : 30 ต.ค. 57 - เสนอเลขาธิการ กพฐ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - สะท้อนผลให้ สพท.

  34. สวัสดี

More Related