1 / 18

Course Syllabus 499720 : การแพทย์ที่มีความเป็นมนุษย์ 3(1-4) Humanized medicine

Course Syllabus 499720 : การแพทย์ที่มีความเป็นมนุษย์ 3(1-4) Humanized medicine. 5. 1. 3. ภาค การศึกษา ภาค การศึกษาที่ 1. จำนวน หน่วย กิต ( Course Credit) 3 หน่วย กิต. คณะ / ภาควิชา คณะ แพทยศาสตร์.

devi
Download Presentation

Course Syllabus 499720 : การแพทย์ที่มีความเป็นมนุษย์ 3(1-4) Humanized medicine

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Course Syllabus499720 : การแพทย์ที่มีความเป็นมนุษย์ 3(1-4)Humanized medicine

  2. 5 1 3 ภาคการศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต (Course Credit) 3 หน่วยกิต คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร์ ชื่อวิชา (Course Title) การแพทย์ที่มีความเป็นมนุษย์ รหัสวิชา 499720 2 1 2 3 4 5

  3. 1 ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2554 6 7 ชื่อผู้สอน 1. ผศ.นพ.เทิดศักดิ์ ผลจันทร์ (ผู้จัดการรายวิชา) 2. ดร.ไพฑูรย์ ช่วงฉ่ำ (ผู้ประสานงานรายวิชา) 3. พันเอก นพ.ทวีศักดิ์ นพเกสร 4. ผศ.นพ.ศิริเกษม ศิริลักษณ์ 5. อ.นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ 6. อ.นพ.รัฐพล แสงรุ้ง 7. คุณ วงศ์ตะวัน รัตนพล 8. คุณ วันดี ทับทิม 9. คุณ ศิริบังอร ต่อวิเศษ 2

  4. 5 1 3 จำนวนชั่วโมง 48 ชั่วโมง กิต วิชาระดับ ปริญญาตรี ชื่อหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต 2 8 เงื่อนไขรายวิชา ไม่มี 9 สถานภาพของวิชา วิชาเลือกเสรี 10 11 12

  5. 13. เนื้อหารายวิชา (Course Description) • การพัฒนาวิชาชีพแพทย์เพื่อเข้าถึงความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ รู้เห็นประสบการณ์ต่างๆในชีวิต การคิด ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง และ ลองปฏิบัติ • Development of medical profession endowed with complete human being, witnessing experiences of life, thinking, considering, deliberating, and practice

  6. แนวความคิดของรายวิชา การศึกษาในมหาวิทยาลัย นอกจากต้องเรียนในสาขาวิชาเฉพาะของตนให้รู้จริง เพื่อให้สามารถทำงานได้ดีแล้ว ยังต้องช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถเข้าถึงเป้าหมายที่แท้จริง ของชีวิตและสังคมด้วยเป้าหมายของชีวิตมนุษย์คือ การดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข มีคุณค่า อยู่ร่วมกับผู้อื่นและสิ่งแวดล้อมรอบตัวได้อย่างเข้าใจและเกื้อกูลในรายวิชานี้ผู้เรียนจะได้ร่วม เรียนรู้ กับครูอาจารย์และเพื่อน ๆ ทบทวนจุดมุ่งหมายของการมีชีวิตอยู่บนโลก ซึ่งนอกจาก เรายังมีเพื่อนมนุษย์และสิ่งอื่นๆ แม้บางครั้งจะไม่เหมือนเราแต่ก็มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่า เรา ให้เราได้มีเวลาใคร่ครวญเกี่ยวกับชีวิตของตนเองและผู้อื่น ทบทวนคุณค่าที่ตนเองยึดถือ จุดอ่อน จุดแข็ง ศักยภาพของตนเป้าหมายในชีวิต มองเห็นแนวทางการใช้ชีวิตและทำงาน อย่างเป็นสุข

  7. 14. ประมวลการเรียนรายวิชา (Course Outline) • 14.1 วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในรายวิชานี้แล้ว นิสิตมี 14.1.1 ความรู้ความเข้าใจมิติด้านต่างๆของชีวิตมนุษย์ 14.1.2 ทักษะในการพัฒนาชีวิต 14.1.3 ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาชีวิตตนเองสู่ ความสมบูรณ์

  8. 14.2 เนื้อหารายวิชา / หัวข้อการเรียน

  9. 14.2 เนื้อหารายวิชา / หัวข้อการเรียน

  10. 14.2 เนื้อหารายวิชา / หัวข้อการเรียน

  11. วิธีจัดประสบการณ์เรียนรู้วิธีจัดประสบการณ์เรียนรู้ • 1. บรรยาย • 2. ฝึกปฏิบัติเรียนรู้ Deep listening, Reflection, สุนทรียสนทนา, สุนทรียสาธก, Reflective Writing • 3. กิจกรรม(นอกห้องเรียน) ในชีวิตจริง เพื่อเรียนรู้ชีวิตมนุษย์ผู้อื่นที่อยู่ร่วมกัน • ภายในโลกของเรา

  12. 14.4 สื่อการสอน • 1. ห้องเรียนใต้ท้องฟ้า • 2. ผู้คนในชีวิตจริง นอกห้องเรียน • 3. เอกสารประกอบการบรรยาย • 4. คอมพิวเตอร์ • 5. เครื่องเสียง • 6. อุปกรณ์วาดรูป

  13. 14.5 การวัดและประเมินผล 14.5.1 Formative assessment -สังเกต การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และครูให้คำแนะนำ - Reflective diary และ Feedback 14.5.2 Summative assessment - รายงานการถอดบทเรียน Life experience with empathy and humanism 50 % 1. นำเสนอ 20 % 2. รายงาน 30 % - เข้าชั้นเรียน 20 % - Reflective diary 30 %

  14. 14.6 เกณฑ์การตัดสินผล ใช้วิธีการและเกณฑ์ในการประเมินผลตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2549 แบบอิงเกณฑ์ โดยมีลำดับเกรดเป็น A, B+, B, C+,C, D+, D และ F 80 คะแนน A 75 – 79 คะแนน B+ 70 – 74 คะแนน B 65 – 69 คะแนน C+ 60 – 64 คะแนน C 55 – 59 คะแนน D+ 50 – 54 คะแนน D น้อยกว่า 50 คะแนน F

  15. ทั้งนี้นิสิต / กลุ่มนิสิต ที่สร้างข้อมูลโดยไม่ได้ลงไปปฏิบัติจริงและหรือดัดแปลงข้อมูล คัดลอกข้อมูลข้อความจากผลงานของนิสิต / กลุ่มนิสิตอื่นหรือแหล่งข้อมูลอื่นแม้บางส่วน จะได้ผลการเรียนระดับ F ในรายวิชานี้ทันที

  16. 15. หนังสืออ่านประกอบ • 1. วิถีมนุษย์ในศตวรรษที่ 21สู่ภพภูมิใหม่แห่งการพัฒนา ประเวศ วะสี 2545 • 2. ระลึกถึงความตายสบายนัก การเจริญมรณสติในชีวิตประจำวัน • พระไพศาล วิสาโล 2551

  17. 15. หนังสืออ่านประกอบ 3. งานแห่งชีวิต คู่มือแสวงหาวิสัยทัศน์และเป้าหมายเพื่อการสร้างสรรค์ ผู้เขียน ลอเรนซ์ จี โบลท์ ผู้แปล ขนิษฐา มุติวัฒนาสวัสดิ์ สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมล คีมทอง 2543 4. สุนทรียสนทนา วิศิษฐ์ วังวิญญู สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา 2548

  18. Thank You !

More Related