1 / 48

สิทธิประโยชน์ทางภาษี สำหรับสถานประกอบการ จากการดำเนินงานสหกิจศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. สิทธิประโยชน์ทางภาษี สำหรับสถานประกอบการ จากการดำเนินงานสหกิจศึกษา. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. กระบวนการสหกิจศึกษา.

devon
Download Presentation

สิทธิประโยชน์ทางภาษี สำหรับสถานประกอบการ จากการดำเนินงานสหกิจศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับสถานประกอบการจากการดำเนินงานสหกิจศึกษา

  2. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระบวนการสหกิจศึกษา • สหกิจศึกษา เป็นการจัดการศึกษาร่วมกัน ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ หรือการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (Work Integrated Learning : WIL)

  3. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หลักการจัดหลักสูตรสหกิจศึกษา • ยึดหลักทฤษฎีที่สำคัญอยู่ 2 ทฤษฎี 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นประสบการณ์ 2. ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นสภาพจริง

  4. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ความเป็นมา • ประเทศไทยเริ่มระบบสหกิจศึกษาปี พ.ศ. 2536 โดยเริ่มที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นักศึกษารุ่นแรกเริ่ม พ.ศ. 2538 • ปี พ.ศ. 2545 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษามีการขยายผลกับสถาบันอุดมศึกษา 17 แห่ง

  5. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผลการประเมิน • พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา มีศักยภาพดีกว่าหลักสูตรการจัดการฝึกงานภาคฤดูร้อน

  6. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้มีคุณลักษณะและสมรรถนะตรงความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต 2. เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษามีความสัมพันธ์อันดีกับ สถานประกอบการ 3. เพื่อให้องค์กรผู้ใช้บัณฑิตได้รับประโยชน์จากสหกิจศึกษา 4. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

  7. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผลที่ได้รับจากการนำกลยุทธ์สหกิจศึกษาไปสู่การปฏิบัติ 1. คุณภาพบัณฑิต 2. คุณภาพสถาบันอุดมศึกษา 3. คุณภาพขององค์กรผู้ใช้บัณฑิต 4. สร้างองค์ความรู้ใหม่ 5. สร้างความสัมพันธ์เชิงลึกของโลกของงาน กับโลกของการศึกษา 6. การเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ

  8. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การเตรียมความพร้อมของสถาบันอุดมศึกษา

  9. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แนวทางการจัดทำหลักสูตรสหกิจศึกษาสำหรับสถาบันอุดมศึกษา • แต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทำร่างหลักสูตร • คณะกรรมการพิจารณากำหนดรายวิชา และจำนวนหน่วยกิต • กำหนดรายวิชาสหกิจศึกษาอาจกำหนดเป็นวิชาชีพบังคับ หรือวิชาชีพเลือก และไม่ต่ำกว่า 6 หน่วยกิต • กำหนดแผนการเรียนของนักศึกษา • หลักสูตรทุกหลักสูตรจะต้องได้รับการรับรองจากสภามหาวิทยาลัย และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

  10. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติสหกิจศึกษา • การเลือกงาน และสถานประกอบการ • การเขียนใบสมัครงาน และการเขียนประวัติ • การเตรียมตัวสัมภาษณ์ • การพัฒนาบุคลิกภาพ • การนำเสนอโครงการ/ผลงาน สก 2 สก 1

  11. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติสหกิจศึกษา (ต่อ) 6. ความปลอดภัยในโรงงาน • กิจกรรม 5 ส • ระบบคุณภาพ ISO 9000 • มารยาทในการทำงาน • การจัดทำรายงาน

  12. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การเตรียมความพร้อมอาจารย์นิเทศ • ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสหกิจศึกษา • บทบาท ภาระ หน้าที่และความรับผิดชอบของ อาจารย์นิเทศ • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน

  13. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ

  14. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การเตรียมความพร้อมพี่เลี้ยงหรือพนักงานที่ปรึกษา • การจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน • ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสหกิจศึกษา • บทบาท ภาระ หน้าที่และความรับผิดชอบของพี่เลี้ยง • การสอนงาน • การเตรียมโครงงานสำหรับนักศึกษาสหกิจศึกษา • การประเมินผลการปฏิบัติงานร่วมกับอาจารย์นิเทศ สก 7

  15. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สรุป WIL ของประเทศไทย

  16. สรุป WIL ของประเทศไทย (ต่อ)

  17. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงานรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงาน ปัจจัยนำเข้า ระบบทวิภาคี ระบบฝึกงาน ระบบสหกิจศึกษา ระบบฝึกหัด 1. หลักสูตร ระดับ ปวส. และระดับปริญญาตรี 2. การเรียนการสอนแบบ Problem Based และ Cooperative Learning 3. กำหนดคุณสมบัติของผู้เรียน 4. การเตรียมสถานประกอบการ 5. การฝึกอบรมอาจารย์, ครูฝึกและพี่เลี้ยง 1. หลักสูตร ระดับ ปวส. 2. การเรียนการสอนแบบ Problem Based และ Cooperative Learning 3. กำหนดคุณสมบัติของผู้เรียน 4. การเตรียมสถานประกอบการ 5. การฝึกอบรมอาจารย์, ครูฝึกและพี่เลี้ยง 1. หลักสูตร ระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา 2. การเรียนการสอนแบบ Problem Based Project Based และ Cooperative Learning 3. กำหนดคุณสมบัติของผู้เรียน 4. การเตรียมสถานประกอบการ 5. การฝึกอบรมอาจารย์, ครูฝึกและพี่เลี้ยง 1. หลักสูตร ระดับปริญญาตรี 2. การเรียนการสอนแบบ Problem Based และ Cooperative Learning 3. กำหนดคุณสมบัติของผู้เรียน 4. การเตรียมสถานประกอบการ 5. การฝึกอบรมอาจารย์, ครูฝึกและพี่เลี้ยง

  18. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงาน (ต่อ) กระบวนการ ระบบทวิภาคี ระบบฝึกงาน ระบบสหกิจศึกษา ระบบฝึกหัด 1. เรียนทฤษฎีก่อน และฝึกปฏิบัติงาน ตามหลักสูตรที่กำหนด 2. ระยะการฝึกปฏิบัติงานเป็นไปตามข้อกำหนดของหลักสูตร 3. การประเมินผลการฝึกปฏิบัติร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ 1. เรียนทฤษฎีควบคู่กับการฝึกปฏิบัติตามความเหมาะสม 2. เรียนทฤษฎีจนจบก่อนจึงจะเรียนเริ่มปฏิบัติงาน 3. องค์กรวิชาชีพมีส่วนร่วมจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. การฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการเป็นไปตามข้อกำหนดของหลักสูตร 2. การประเมินผลการฝึกปฏิบัติร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ 1. เรียนทฤษฎีควบคู่กับการฝึกปฏิบัติตามความเหมาะสม โดยสถานศึกษาและสถานประกอบการต้องตกลงร่วมกัน 2. การประเมินผลการฝึกปฏิบัติร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ

  19. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงาน (ต่อ) ผลที่ได้รับ ระบบทวิภาคี ระบบฝึกงาน ระบบสหกิจศึกษา ระบบฝึกหัด 1. ได้ทำงานจริงในวิชาชีพที่เรียนมาโดยตรง 2. บูรณาการความรู้ โดยการฝึกปฏิบัติจริง 3. ได้กรณีศึกษาจากการทำงานจริง 4. มีองค์กรวิชาชีพรับรอง 5. ได้สมรรถนะตามอาชีพ 1. ได้เรียนรู้ชีวิตการทำงาน 2. ได้ฝึกปฏิบัติงานตามความรู้ในสาขาที่ตนเรียน 3. บูรณาความรู้ สู่สถานประกอบการ โดยการทำโครงการและการแก้ปัญหางาน 4. มีรายงานหลังจากฝึกปฏิบัติ 1. ได้ทักษะการทำงานกับผู้อื่น 2. ได้เรียนรู้ชีวิตการทำงาน 3. การฝึกปฏิบัติเพื่อเปลี่ยนอาชีพ 1.ได้ทักษะเฉพาะด้าน 2. ได้ฝึกปฏิบัติตามสมรรถนะรายวิชา

  20. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 20

  21. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 • ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา • ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 119 ตอนที่ 98/1 • วันที่ 1 ตุลาคม 2545 • มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 29 มกราคม 2546

  22. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา วัตถุประสงค์ • เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการภาคเอกชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาฝีมือแรงงานให้มากยิ่งขึ้น โดยการเพิ่มมาตรการจูงใจด้านการยกเว้นและลดหย่อนภาษีอากร และสิทธิประโยชน์ด้าน ต่าง ๆ รวมทั้งให้มีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงาน

  23. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน 2545 หมวด ๑ การฝึกอบรม ผีมือแรงงาน หมวด ๒ มาตรฐานฝีมือแรงงาน หมวด ๓ กองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน หมวด ๔ สิทธิประโยชน์ ของผู้ดำเนินการฝึก หมวด ๕ คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน บทเฉพาะกาล หมวด ๖ นายทะเบียนและพนักงานเจ้าหน้าที่ หมวด ๗ การเพิกถอนการเป็นผู้ดำเนินการฝึก การพักใช้ และการเพิกถอนใบอนุญาต หมวด ๘ การอุทธรณ์ หมวด ๙ บทกำหนด โทษ

  24. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน หมวด 1 การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน การฝึกเตรียมเข้าทำงาน การฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ อาจรับนักเรียน นิสิตนักศึกษาหรือบุคคลที่ทางราชการส่งมาฝึกเข้ารับการฝึก ส่งไปฝึกภายนอก ดำเนินการฝึกอบรมเอง สถานศึกษา สถานฝึกอบรมฝีมือแรงงานของทางราชการ ฝึกในสถานประกอบ กิจการ/สถานที่อื่น ฝึกในศูนย์ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน สถานฝึกอบรมฝีมือแรงงานอื่น (มูลนิธิ สมาคมหรือนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย)

  25. การฝึกเตรียมเข้าทำงาน (กรณีรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา หรือบุคคลที่ทางราชการส่งมาเข้ารับการฝึก) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผู้ประกอบกิจการ นำหนังสือรับทราบและรายการค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นไปขอยกเว้นภาษีกับกรมสรรพากร ยื่นคำขอให้นายทะเบียนรับทราบ -หลักสูตร -สัญญาการฝึก -รายชื่อผู้รับการฝึก (ก่อนการฝึกอบรม) หน้าที่ของผู้ดำเนินการฝึก 1.ทำสัญญาการฝึก 2.ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์คุ้มครองผู้รับการฝึก 3.ผู้ดำเนินการฝึกเรียกหรือรับเงินค่าฝึกอบรมหรือค่าตอบแทนจากผู้รับการฝึกไม่ได้ 4.ออกหนังสือรับรองให้แก่ผู้สำเร็จการฝึก นายทะเบียนรับทราบ ดำเนินการจัดฝึกอบรม รายงานผลของผู้สำเร็จการฝึกอบรมให้นายทะเบียนทราบ

  26. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เอกสารแบบฟอร์มที่ยื่นต่อกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน • แบบ ฝง 1 คำขอรับทราบการรับนักเรียน นิสิตนักศึกษา เอกสารแนบประกอบด้วย • สำเนาหนังสือแสดงการจดทะเบียนและวัตถุประสงค์ของผู้ยื่น • หลักสูตรและรายละเอียดเกี่ยวกับการฝึก • ทะเบียนประวัติผู้รับการฝึก กรณีรับนักเรียน นิสิต นักศึกษาหรือบุคคลที่ทางราชการส่งมา • แบบ ฝง 2 สัญญารับนักเรียน นิสิตนักศึกษา • แบบ ฝง 3 แบบแจ้งผู้สำเร็จการฝึก • ทะเบียนรายชื่อผู้สำเร็จการฝึก ฝง 1 ข 3 ข 2 ข 4 ฝง 2 ฝง 3 ข 7

  27. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สิทธิประโยชน์ที่ผู้ดำเนินการฝึกจะได้รับ กรณีเป็นผู้ดำเนินการฝึกทั่วไป 1. ได้รับยกเว้นจากกฎหมายโรงเรียนเอกชน 2. ได้รับยกเว้นจากกฎหมายคุ้มครองแรงงานและกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ (กรณีฝึกเตรียมเข้าทำงาน) 3. ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้เป็นกรณีพิเศษ สำหรับค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน

  28. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรณีเป็นผู้ดำเนินการฝึกทั่วไป (ต่อ) 4. มีสิทธินำคนต่างด้าว ซึ่งเป็นช่างฝีมือแรงงานหรือ ผู้ชำนาญการเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อมาเป็นครูฝึก(พร้อมคู่สมรส และบุคคลซึ่งอยู่ในอุปการะ) 5. ได้รับคำปรึกษาแนะนำและช่วยเหลือจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงานในด้านต่างๆ 6. สิทธิและประโยชน์อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

  29. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรณีการฝึกอบรมในศูนย์ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน 1. มีสิทธิและประโยชน์เช่นเดียวกับกรณีเป็นผู้ดำเนินการฝึกทั่วไป 2. ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับ เครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่นำเข้ามาเพื่อใช้ในการฝึกอบรม 3. สิทธิและประโยชน์อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

  30. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สิทธิประโยชน์ทางภาษีในการฝึกอบรม

  31. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 437) พ.ศ. 2548 มาตรา 5 (2) สำหรับเงินได้เป็นจำนวนร้อยละร้อยของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกเตรียมเข้าทำงานเพื่อประโยชน์ของกิจการของผู้ดำเนินการฝึก ตั้งแต่วันที่พระราชกฤษฎีกาใช้บังคับ

  32. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การสนับสนุนการศึกษา พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 420) พ.ศ.2547 พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 437) พ.ศ. 2551

  33. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 420 มาตรา 3 (1) สำหรับบุคคลธรรมดา ให้ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แห่งประมวลรัษฎากรเป็นจำนวน 2 เท่าของรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อนดังกล่าวนั้น

  34. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 420 มาตรา 3 (2)สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ให้ยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับเงินได้เป็นจำนวนเงินหรือมูลค่าของทรัพย์สินเป็นจำนวน 2 เท่าของรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษาแต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณประโยชน์และเพื่อการศึกษา หรือเพื่อการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร

  35. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา มีดังนี้ (1) จัดหาหรือจัดสร้างอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือที่ดินที่ให้แก่สถานศึกษา เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา (2) จัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อการศึกษา แบบเรียน ตำรา หนังสือทางวิชาการ สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาให้แก่สถานศึกษา ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนด พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 420 และ 476

  36. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา มีดังนี้ (3) จัดหาครู อาจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา หรือเป็นทุนการศึกษา การประดิษฐ์ การพัฒนา การค้นคว้าหรือการวิจัยสำหรับนักเรียน นิสิต หรือนักศึกษา ของสถานศึกษา ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 420 และ 476

  37. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หลักฐานที่ใช้ในการยกเว้นภาษีตามพระราชกฤษฎีกา ฯฉบับที่ 420 และ 476 หลักฐานที่พิสูจน์ได้ว่าเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุน การศึกษาเช่น ใบเสร็จรับเงินที่ออกโดยสถานศึกษา ง 2

  38. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การขอรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับสถานประกอบการจากการดำเนินงานสหกิจศึกษา

  39. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หน้าที่ของสถานประกอบการ • การปฏิบัติให้ถูกต้องตาม พรบ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545 ได้แก่ • ยื่นคำขอรับทราบการรับนักศึกษาเข้าเป็นผู้รับการฝึก (แบบ ฝง.1)พร้อมเอกสารหลักฐานแนบ ก่อนเริ่มดำเนินการสหกิจศึกษา • จัดทำสัญญาการฝึกกับนักศึกษา • ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้รับการฝึก • ออกหนังสือรับรองให้นักศึกษาที่สำเร็จโครงการสหกิจฯภายใน 15 วัน • ห้ามเรียกรับเงินหรือค่าตอบแทนใดๆจากนักศึกษา • ต้องจ่ายค่าตอบแทนให้นักศึกษาในอัตราไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของอัตราค่าจ้างขั้นต่ำสูงสุด

  40. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หน้าที่ของสถานประกอบการ (ต่อ) • การประสานงานกับสถาบันอุดมศึกษา • เสนอรายละเอียดงานและค่าตอบแทนแก่นักศึกษา • จัดปฐมนิเทศเกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับ และเรื่องต่างๆที่นักศึกษาพึงรู้และปฏิบัติให้นักศึกษาทราบ • ให้คำแนะนำกับนักศึกษาในเรื่องการทำงาน โครงงาน หรืองานวิจัยที่สถานประกอบการมอบหมายให้นักศึกษาทำในระหว่างการปฏิบัติสหกิจศึกษา • ร่วมกับเจ้าหน้าที่สหกิจฯ และอาจารย์นิเทศของสถาบันอุดมศึกษา จัดประชุมปรึกษาหารือเกี่ยวกับปัญหาต่างๆและแนวทางแก้ไขที่เกิดขึ้นในระหว่างการปฏิบัติงานของนักศึกษา • ตรวจแก้ไขรายงาน และประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา

  41. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สิทธิประโยชน์ทางภาษีตาม พรบ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545 ประกอบด้วยพระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ 437 พ.ศ.2548 • หักค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่า ตามที่จ่ายจริง • รายการค่าใช้จ่ายที่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี • ค่าเบี้ยเลี้ยง • ค่าเบี้ยประกันอุบัติเหตุ • ค่าสวัสดิการ เช่น เงินรางวัล ค่าอาหาร ค่าที่พัก ค่าเดินทางระหว่างจังหวัด ค่าชุดฟอร์ม • ค่าวัสดุอุปกรณ์เฉพาะที่ใช้ในการฝึก • ค่าวิทยากรภายนอก

  42. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ขั้นตอนการยื่นเอกสารต่อกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ยื่นเอกสารคำขอต่อนายทะเบียน (อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ) เป็นคำขอรับ นิสิต/นักศึกษาตามแบบ ฝง 1 และมีเอกสารแนบ 1. สำเนาหนังสือแสดงการจดทะเบียน และวัตถุประสงค์ไม่เกิน 6 เดือน 2. หลักสูตรและรายละเอียดการฝึกจำนวน 1 ฉบับ 3. สัญญาการฝึก (แบบ ฝง 2) 4. ทะเบียนประวัติผู้รับการฝึกของนักศึกษา/นักศึกษา นายทะเบียนรับทราบ ดำเนินการฝึกสหกิจศึกษา รายงานผลของการสำเร็จการฝึก สหกิจศึกษาให้นายทะเบียน รับทราบ ตามแบบ ฝง 3 นำหนังสือรับทราบและรายการค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงยื่นขอหักค่าใช้จ่ายกับกรมสรรพากร

  43. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การเตรียมเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาของกรมสรรพากร หนังสือรับทราบจากอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงานในการฝึกนักศึกษาสหกิจศึกษา สำเนาแบบเสนองานสหกิจศึกษา (แบบ สก 2) ใบสำคัญรับเงินค่าเบี้ยเลี้ยงนักศึกษา ใบเสร็จรับเงินค่าเบี้ยประกันอุบัติเหตุ ใบสำคัญรับเงินค่าสวัสดิการที่จ่ายแก่นักศึกษาสหกิจศึกษา ใบเสร็จรับเงินค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกสหกิจศึกษา ใบสำคัญรับเงินค่าวิทยากรภายนอก เก็บไว้ที่สถานประกอบการเพื่อรอการตรวจสอบ จากสรรพากร

  44. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การยื่นแบบ ภงด.50 • ยื่นแบบ ภงด.50 ภายใน 150 วัน หลังจากสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีของสถานประกอบการ • วิธีการกรอกแบบ ภงด.50 -บันทึกค่าใช้จ่ายในอัตรา 1 เท่า ในรายการที่ 8 (รายจ่ายในการขายและบริหาร)ข้อ 23 “รายจ่ายอื่นที่นอกเหนือจาก 1 ถึง 22” และ - บันทึกค่าใช้จ่ายในอัตราอีก 1 เท่า ในรายการที่ 10 (รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้หรือรายจ่ายที่มีสิทธิหักได้เพิ่มขึ้น) ข้อ 2.3 “รายจ่ายในการส่งลูกจ้างเข้ารับการศึกษาและฝึกอบรม” รายจ่ายในการขายและบริหาร รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี

  45. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สิทธิประโยชน์ทางภาษี ตามพระราชกฤษฎีกาฯฉบับที่ 420 พ.ศ.2547และ พระราชกฤษฎีกาฯฉบับที่ 476 พ.ศ.2551 • เป็นการบริจาคเงินหรือทรัพย์สินเพื่อให้เกิดการบูรณาการทางการศึกษา เพื่อประโยชน์ที่จะตกแก่นักศึกษา โดยไม่มีสัญญาต่างตอบแทน • หักค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่าของค่าใช้จ่ายที่จ่ายไป แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ หรือเพื่อการสาธารณประโยชน์และเพื่อการศึกษาหรือการกีฬา

  46. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สิทธิประโยชน์ทางภาษี ตามพระราชกฤษฎีกาฯฉบับที่ 420 พ.ศ.2547และ พระราชกฤษฎีกาฯฉบับที่ 476 พ.ศ.2551 • วัตถุประสงค์ของการบริจาคเพื่อ • จัดทำหรือจัดสร้างอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือที่ดิน • จัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อการศึกษา แบบเรียน ตำรา หนังสือทางวิชาการ สื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา • จัดหาครูอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา หรือเป็นทุนการศึกษา การประดิษฐ์ การพัฒนา การค้นคว้า หรือการวิจัยสำหรับนักศึกษา

  47. พรบ.ส่งเสริมฯ2545+พรฎ.437 1. เป็นค่าใช้จ่ายที่แจกแจงรายการ ชัดเจน ได้แก่ ค่าเบี้ยเลี้ยง,ค่าเบี้ย ประกันอุบัติเหตุ,ค่าสวัสดิการ, ค่าวัสดุอุปกรณ์,ค่าวิทยากรภายนอก 2. หักค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่าของ ที่จ่ายจริง โดยไม่จำกัดวงเงิน 3. ใช้ได้กับทุกสถาบันการศึกษา ทั้งของรัฐและเอกชน พรฎ.420+พรฎ.476 1. เป็นเงินบริจาคที่จ่ายให้แก่ มหาวิทยาลัย เพื่อประโยชน์ที่จะ ตกแก่นักศึกษา โดยต้องไม่มี สัญญาต่างตอบแทน เช่น ทุนการศึกษา 2. หักค่าใช้จ่ายได้ 2 เท่า แต่ไม่เกิน ร้อยละ 10 ของกำไรสุทธิก่อนหัก รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ 3. ใช้ได้กับเฉพาะสถาบันการศึกษา ของรัฐ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เปรียบเทียบการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี 2 แบบ

  48. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา THANK YOU

More Related