1 / 16

การพัฒนา อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

การพัฒนา อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน. ความเป็นมา. รัฐธรรมนูญ 2550. มุ่งเน้นกระจายอำนาจ. จังหวัด อำเภอ ตำบล. พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ อปท. กำหนดหน้าที่ในการ จัดระบบบริการสาธารณะ. นโยบายรัฐมนตรี. รพ.สต. สป. / กรม คร. SRRT. 2. Concept . The most

dixon
Download Presentation

การพัฒนา อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

  2. ความเป็นมา รัฐธรรมนูญ 2550 มุ่งเน้นกระจายอำนาจ จังหวัด อำเภอ ตำบล พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ อปท. กำหนดหน้าที่ในการ จัดระบบบริการสาธารณะ นโยบายรัฐมนตรี รพ.สต. สป. / กรม คร. SRRT 2

  3. Concept • The most • เครือข่ายทุกระดับ สามารถบริหารจัดการ และขับเคลื่อน การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อลดปัญหาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ • การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง พัฒนากลไก 5 เรื่อง (การมีส่วนร่วม, ระบบระบาด, แผน, ทุน, ประเมินผล) • หลายอำเภอทำอยู่แล้ว เป็นอยู่แล้ว ไม่ใช่เรื่องใหม่ ทำให้เป็นระบบ

  4. โจทย์.... การพัฒนาอำเภอร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อระบบ เฝ้าระวังฯ ป้องกันควบคุมโรคแบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ กรอบแนวคิด อำเภอปัจจุบัน อำเภออนาคต 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 3.มีการวางแผน 4.มีการระดมทุนฯ ....... 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ ....... ....... 5.มีผลงาน พัฒนา จัดระบบให้ทำหน้าที่ เกี่ยวเนื่อง มีความสัมพันธ์กัน และเป้าหมายเดียวกัน จากHicks. 1972, Semprevivo. 1976, Kindred. 1980, Robbins, Bergman, Stagg, and Coulter. 2006)

  5. นิยาม อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน : อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ 5

  6. คุณลักษณะอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนคุณลักษณะอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 5. มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรค 3 การวางแผนงาน - แผนงาน/ปฏิทินปฏิบัติการรณรงค์ในภาวะปกติ - แผนงานรับภาวะฉุกเฉิน - ทบทวนประเมินผลเพื่อกำหนดแผนปีถัดไป 4. การระดมทรัพยากร SRRT และเครือข่าย 1.คณะกรรมการ - การมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง 2.ระบบระบาดวิทยาที่ดี - การจัดการข้อมูลข่าวสาร - การตรวจยืนยัน

  7. มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคมีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรค • และภัยสุขภาพ 1.1 คำสั่งคณะกรรมการที่ประกอบด้วยทุกภาคส่วน ดังนี้ภาครัฐ (รพ. / สสอ. นายอำเภอ) ท้องถิ่น (อปท. ภายในอำเภอ) และภาคประชาชน (อสม./ ผู้นำชุมชน)1.2 มีรายงานการประชุม1.3 การประชุมมีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโรคและ ภัยสุขภาพและกำหนดแนวทางแก้ไข รวมทั้งมอบหมาย ผู้รับผิดชอบการดำเนินงาน1.4 มีการติดตามผลการดำเนินงาน ตามมติการประชุม

  8. 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี 2.1 มีระบบข้อมูลข่าวสาร ทางระบาดวิทยา ที่ดี 2.2 มีทีม SRRTที่มีประสิทธิภาพ • ระดับอำเภอ • ระดับตำบล 2.3โรงพยาบาลชุมชน มีห้องปฏิบัติการ ตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อ ที่สำคัญ

  9. 3. มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 3.1 มีเป้าหมายและแผนปฏิบัติการควบคุมป้องกันโรค ที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่และปัญหาสาธารณสุขตามนโยบาย อย่างน้อยอย่างละหนึ่งโรค 3.2 มีปฏิทินปฏิบัติการรณรงค์ ร่วมมือกับท้องถิ่นและภาคประชาชนในการควบคุมป้องกันโรค/ปัญหาสุขภาพตามข้อ 3.1 3.3 มีปฏิบัติการ และซ้อมรับเหตุฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระดับอำเภอ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3.4 มีผลการประเมิน หรือทบทวนการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา เพื่อปรับแผนการดำเนินงานปีถัดไป

  10. 4. มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 4.1องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดสรรทรัพยากร เพื่อการควบคุมโรค อย่างเป็นรูปธรรม 4.2กองทุนสุขภาพ จัดสรรทรัพยากรเพื่อการ ควบคุมโรค อย่างเป็นรูปธรรม 4.3โรงพยาบาลจัดสรรทรัพยากร เพื่อการควบคุมโรคอย่างเป็นรูปธรรม 4.4หน่วยงานอื่นๆ เช่น องค์กรเอกชน วัด ประชาชน จัดสรรทรัพยากรเพื่อการควบคุมโรค อย่างเป็นรูปธรรม

  11. 5. มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรค 5.1การควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขอย่างน้อย 1 เรื่อง • ผลสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมควบคุมโรค • ขนาดปัญหาของโรคลดลง 5.2การควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่อย่างน้อย 1 เรื่อง • ความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรมควบคุมโรค • ขนาดปัญหาของโรคลดลง

  12. โรคตามนโยบายกระทรวงฯ(P.48)โรคตามนโยบายกระทรวงฯ(P.48) 1.โรควัณโรค 2.การติดเชื้อ HIV/โรคเอดส์ 3.โรคไข้เลือดออก 4.โรคหลอดเลือดสมอง โรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ 1-15 โรค

  13. กรอบแนวทางการดำเนินงานกรอบแนวทางการดำเนินงาน 13 • อำเภอประเมินตนเอง (self assessment) วัตถุประสงค์ เพื่อสื่อสารคุณลักษณะให้ผู้เกี่ยวข้องในอำเภอได้ทราบ • จังหวัดคัดเลือกอำเภอที่โดดเด่น 1 อำเภอ วัตถุประสงค์ เพื่อให้จังหวัดทราบศักยภาพของอำเภอ • กรมควบคุมโรคดำเนินการประเมิน วัตถุประสงค์ ทราบรูปแบบการดำเนินงาน & ค้นหาปัจจัยแห่งความสำเร็จ ทราบปัญหา?? • กรมควบคุมโรคคัดเลือก 12 จาก 76 อำเภอ วัตถุประสงค์ ขยายผลปัจจัยแห่งความสำเร็จ

  14. แนวทางการดำเนินงานของ สคร.5 1.ทำความเข้าใจในนิยามของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนเป้าหมายคือ ประชาชนอยู่ดี มีแรง 2.การร่วมกับภาคีทุกภาคเพื่อส่วนสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแส กระตุ้น จูงใจ คิดตรง เป้าหมายร่วม 3.พัฒนา Team work สคร5.ให้เข้าใจ ทฤษฎีระบบ และกลไกของอำเภอมี อะไรเป็นทุนเดิม พัฒนาทำให้อำเภอเข้มแข็ง 4.สนับสนุนเครือข่ายในพื้นที่สาธารณสุขเขต 14 และ Node อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย

  15. แนวทางการดำเนินงาน สคร.5 5. จัดทำแผน บูรณาการแผนระหว่าง สคร5. Node และแผนจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนอำเภอ ฯ 6. ร่วมกับจังหวัดพัฒนาสมรรถนะบุคลากร อำเภอ ตามแบบประเมิน ( Self assessment) เน้น ระบบเพื่อขับเคลื่อนอำเภอให้เข้มแข็ง 7. Coaching, On the job training อำเภอ 8. Intensive Consultant Visit (ICV) 9. Accreditation จากกรรมการ 10. ร่วมกับทีมประเมินจากส่วนกลางเพื่อคัดเลือก กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย

  16. Thank you กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย

More Related