1 / 57

เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ

เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ. บทนำ : โครงร่าง องค์การ หมวด 1. การนำ องค์การ หมวด 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ หมวด 3. การมุ่งเน้นลูกค้า หมวด 4. การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5. การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน

dmitri
Download Presentation

เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ บทนำ : โครงร่างองค์การ หมวด 1. การนำองค์การ หมวด 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ หมวด 3. การมุ่งเน้นลูกค้า หมวด 4. การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด 5. การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน หมวด 6. การจัดการกระบวนการ (การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ) หมวด 7. ผลลัพธ์

  2. โครงร่างองค์การ(Organizational profile)

  3. ลักษณะองค์การ ก.สภาพแวดล้อมองค์กร หลักสูตร บริการที่ส่งเสริมการเรียนรู้และบริการทางการศึกษาอื่นๆ ที่สำคัญ ความสำคัญเชิงเปรียบเทียบของแต่ละหลักสูตรฯต่อความสำเร็จของสถาบัน และกลไกในการจัดหลักสูตรฯ ลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมองค์การ จุดประสงค์ วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจของสถาบัน สมรรถะหลักของสถาบันคืออะไร และมีความเกี่ยวข้องอย่างไรกับพันธกิจของสถาบัน ลักษณะโดยรวมของผู้ปฏิบัติงานหรือพนักงาน องค์ประกอบหลักที่จูงใจให้ผู้ปฏิบัติงานมุ่งมั่นต่อการบรรลุพันธกิจและวิสัยทัศน์ของสถาบัน สวัสดิการที่สำคัญ และข้อกำหนดพิเศษด้านสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานภายในสถาบัน มีอาคารสถานที่ เทคโนโลยี อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่สำคัญ อะไรบ้าง ดำเนินงานภายใต้เงื่อนไขข้อบังคับอะไร มาตรฐานของท้องถิ่น จังหวัด และประเทศ ตลอดจนหลักสูตร แผนการศึกษา และการวัดผลที่บังคับใช้

  4. ลักษณะองค์การ ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์การ โครงสร้างและระบบธรรมาภิบาลของสถาบันมีลักษณะอย่างไร ความสัมพันธ์เชิงการรายงานระหว่างคณะกรรมการบริหารสถาบันและผู้นำระดับสูง การรายงานระหว่างผู้นำระดับสูงของสถาบันกับคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยหรือสภาสถาบัน (*) ส่วนตลาดประเภทผู้เรียน และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่สำคัญของสถาบัน กลุ่มเหล่านี้มีความต้องการและความคาดหวังที่สำคัญอะไร มีความแตกต่างกันอย่างไร ผู้ส่งมอบและคู่ความร่วมมือที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการที่สำคัญคือใครบ้าง มีบทบาทอะไรในการจัดหลักสูตร และ บริการที่ส่งเสริมการเรียนรู้และสนับสนุนผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีกลไกที่สำคัญอะไรในการสื่อสาร กลุ่มเหล่านี้มีบทบาทอะไรหรือไม่ในการสร้างนวัตกรรมขององค์การ ข้อกำหนดสำคัญของห่วงโซ่อุปทานขององค์การคืออะไร

  5. ก. สภาพด้านการแข่งขัน 2. สภาวะการณ์ขององค์การ สถาบันอยู่ในลำดับใดในการแข่งขัน เมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันในภาคการศึกษาหรือตลาดการศึกษา การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ซึ่งมีผลต่อสถานะการแข่งขันขององค์การรวมถึงโอกาสสำหรับการสร้างนวัตกรรมและความร่วมมือคืออะไร แหล่งข้อมูลสำคัญที่มีอยู่สำหรับข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและเชิงแข่งขันภายในชุมชนวิชาการมีอะไรบ้าง แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบสำหรับกระบวนการที่คล้ายคลึงกันภายนอกชุมชนวิชาการคืออะไร

  6. 2. สภาวะการณ์ขององค์การ ข. ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ • ด้านการศึกษา และการเรียนรู้ • ด้านการปฏิบัติการ • ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมในวงกว้าง • ด้านทรัพยากรบุคคลคืออะไร ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ และความได้เปรียบที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืนของสถาบันคืออะไร

  7. 2. สภาวะการณ์ขององค์การ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ ซึ่งรวมถึงการประเมินผล การเรียนรู้ระดับองค์การ และกระบวนการสร้างนวัตกรรมของสถาบันมีอะไรบ้าง

  8. หมวด 1 การนำองค์การ

  9. ประเด็นสำคัญของหมวด 1 รู้ไหมผู้บริหารชี้นำอย่างไร (ผ่านการกำหนดวิสัยทัศน์ และค่านิยมของสถาบัน และถ่ายทอดสู่ทุกกลุ่ม รวมทั้งการสร้างบรรยากาศ) รู้ไหม ผู้นำสร้างให้องค์การยั่งยืนอย่างไร ทบทวนตัววัดอะไรบ้างเป็นประจำ สั่งการและสื่อสารให้เกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างไร ระบบการกำกับดูแลให้ถูกต้องตามกฏหมายและจริยธรรม การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนที่สำคัญและทำให้เป็นต้นแบบ

  10. ข. การสื่อสารและผลการดำเนินการขององค์การ

  11. หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์

  12. ประเด็นสำคัญของหมวด 2 รู้ไหมว่า..ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งปัจจัยภายในและภายนอกที่ต้องใช้ ตอบสนองความท้าทายและการเปลี่ยนแปลง สถาบันได้ใช้ความเก่งของตนให้เป็นประโยชน์ในเชิงยุทธศาสตร์อย่างไร การกำหนดทิศทางและเป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาว การแปลงเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ตัวชี้วัดที่ใช้ในการติดตาม การทบทวนและการปรับแผน การคาดการณ์ของผลลัพธ์

  13. การจัดทำกลยุทธ์ที่ดี • มีขั้นตอนชัดเจน • มีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน • มีวงรอบที่ชัดเจน เหมาะสมกับธรรมชาติของธุรกิจ • มีการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบการวางแผนกลยุทธ์ • มีการค้นหาความท้าทายเชิงกลยุทธ์ • มีการค้นหาความสามารถพิเศษขององค์กร และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ • มีการทวนสอบเพื่อค้นหาจุดบอดที่อาจมองข้าม

  14. กลยุทธ์ที่ดี • ควรตอบสนองความท้าทายขององค์กร • ควรใช้ประโยชน์จากความสามารถพิเศษและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ • ควรตอบสนองผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างสมดุล • ควรตอบสนองทั้งความท้าทายระยะสั้นและระยะยาว • ควรคำนึงถึงโอกาสในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ

  15. ตัวอย่างเครื่องมือที่นิยมใช้ในการวางกลยุทธ์ตัวอย่างเครื่องมือที่นิยมใช้ในการวางกลยุทธ์ • SWOT & TOWS MATRIX • 5 FORCES ANALYSIS • CAPABILITY ANALYSIS • PEST ANALYSIS • RESOURCE BASE VIEW • POSITIONING • BLUE OCEAN • STRATEGY MAP

  16. การถ่ายทอดกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพการถ่ายทอดกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพ • ถ่ายทอดครอบคลุมทุกหน่วยงาน ทุกระดับชั้น จนกระทั่งถึงรายบุคคล • ถ่ายทอดครอบคลุมผู้ส่งมอบหรือคู่ความร่วมมือที่สำคัญด้วย • มีการเตรียมทรัพยากรสนับสนุนอย่างเพียงพอและสมดุล • มีตัววัดที่ใช้ในการติดตามความสำเร็จ • มีการติดตามความคืบหน้าของแผนอย่างสม่ำเสมอ • เชื่อมโยงกับการประเมินผลงานบุคลากรและระบบยกย่องชมเชย

  17. การคาดการณ์ผลการดำเนินการที่ดีการคาดการณ์ผลการดำเนินการที่ดี • ครอบคลุมทุกวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ • กำหนดค่าคาดการณ์ล่วงหน้าตามกรอบเวลาที่กำหนดไว้ • ควรมีค่าเทียบเคียง/ค่าเปรียบเทียบกับคู่แข่งด้วย • ควรติดตามผลลัพธ์เทียบกับค่าคาดการณ์และค่าเปรียบเทียบอย่างสม่ำเสมอ

  18. หมวด 3การมุ่งเน้นลูกค้า

  19. ประเด็นสำคัญของหมวด 3 รู้ไหมว่าลูกค้าคือใคร และต้องการอะไร กระบวนของเราให้สิ่งที่ลูกค้าต้องการหรือไม่ ทุกส่วนงานได้มุ่งเน้นประสบการณ์ที่ดีแก่ลูกค้าหรือไม่ การรับฟังเสียงลูกค้า การใช้ประโยชน์จากข้อมูลลูกค้า การสร้างความผูกพัน การวัดผลความพึงพอใจ ความผูกพันและความไม่พึงพอใจ

  20. การจัดการข้อร้องเรียนที่ดีการจัดการข้อร้องเรียนที่ดี • สามารถแก้ไขปัญหาให้ลูกค้าด้วยความรวดเร็ว • ยังคงรักษาระดับความเชื่อมั่นของลูกค้า • ยังคงทำให้ลูกค้ามีความประทับใจและผูกพันมากขึ้น • มีการรวบรวมเพื่อวิเคราะห์หาทางป้องกันเชิงระบบ

  21. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  22. ประเด็นสำคัญของหมวด 4 การกำหนดตัวชี้วัดทั้งหมดในระบบ รู้ไหมว่าเก็บข้อมูลอะไร อย่างไร โดยใคร ใช้ทำอะไร การวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้ประโยชน์ ระบบ IT ระบบการจัดการความรู้

  23. หมวด 5การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน

  24. ประเด็นสำคัญของหมวด 5 รู้ไหมว่าคนของเรามีความผูกพันกับเราเพราะอะไร ได้ใช้ปัจจัยเหล่านั้นในการสร้างความผูกพันอย่างไร จูงใจ สื่อสาร พัฒนาพวกเขาอย่างไร สวัสดิการและสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำงานอย่างไร

  25. หมวด 6การจัดการกระบวนการ(การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ)

  26. ประเด็นสำคัญของหมวด 6 รู้ไหมว่าระบบงานของสถาบันมีกี่ระบบ ออกแบบมาอย่างไร รู้ไหมว่าระบบงานไหนจะดำเนินการเอง หรือจะจ้างคนนอก รู้ไหมว่ากระบวนการทำงานที่สำคัญในสถาบันมีอะไรบ้าง ส่งผลต่อการสร้างคุณค่าแก่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร ต้องพิจารณาปัจจัยสำคัญอะไรในการออกแบบเพื่อให้ตอบสนองความต้องการและความแตกต่าง มีแผนสำรองฉุกเฉิน หรือเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉินหรือไม่

  27. ประเด็นสำคัญของหมวด 6 ออกแบบและปรับปรุงกระบวนการอย่างไร ควบคุมอย่างไร ป้องกันความผิดพลาดอย่างไร ปรับปรุงอย่างไร ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างไร นวัตกรรมและพัฒนาให้ดีขึ้นจนเก่งขึ้นอย่างไร

  28. ระบบงาน (Work system) • คำว่า “ระบบงาน” หมายถึง วิธีการที่สถาบันใช้เพื่อให้บรรลุผลความสำเร็จ • เช่น ระบบงานเกี่ยวกับบุคลากร ผู้ส่งมอบและคู่ความร่วมมือ และองค์ประกอบอื่นๆ ที่จำเป็นในการสร้างและจัดหลักสูตร บริการที่ส่งเสริมการเรียนรู้ และบริการการศึกษาอื่นๆ • และกระบวนการสนับสนุน • ระบบงานต้องประสานระหว่างกระบวนการทำงานภายในและทรัพยากรที่จำเป็นเพื่อทำให้สถาบันประสบความสำเร็จ

  29. ตัวอย่างกระบวนการออกแบบระบบงานตัวอย่างกระบวนการออกแบบระบบงาน

  30. ตัวอย่างการตัดสินใจเรื่องระบบงานตัวอย่างการตัดสินใจเรื่องระบบงาน

  31. กระบวนการทำงาน (Work Process) “กระบวนการทำงาน” หมายถึง กระบวนการสร้างคุณค่าที่สำคัญที่สุดภายในสถาบัน ซึ่งอาจรวมถึงการออกแบบและการส่งมอบหลักสูตร การสนับสนุนผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดระบบและกระบวนการสนับสนุนต่างๆ “กระบวนการทำงาน” เป็นกระบวนการซึ่งเกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่ของสถาบัน และสร้างคุณค่ากับผู้เรียน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และตลาด

  32. การออกแบบกระบวนการ

  33. การควบคุมกระบวนการ

  34. การปรับปรุงกระบวนการ

  35. สิ่งที่ควรคำนึงถึง โอกาสในการปรับปรุงกระบวนการประกอบด้วย • ข้อร้องเรียน ข้อคิดเห็นจากผู้ใช้บัณฑิต/ ผู้รับบริการ • ข้อมูลจากผู้ส่งมอบ คู่ความร่วมมือ • ข้อผิดพลาด ข้อบกพร่อง การบริการที่ ไม่ได้คุณภาพ • อุบัติการณ์ความเสี่ยงและความสูญเสียที่พบ • ต้นทุนที่เกิดจากการตรวจสอบ ทำซ้ำ

  36. หมวด 7 ผลลัพธ์ ตรวจประเมินผลการดำเนินการและการปรับปรุงในด้านต่างๆ ที่สำคัญโดยเปรียบเทียบกับคู่แข่งและองค์การอื่นที่ขายผลิตภัณฑ์หรือให้บริการที่คล้ายคลึง ได้แก่ ผลลัพธ์ด้าน -การเรียนรู้ของผู้เรียน 100คะแนน - การมุ่งเน้นลูกค้า 70 คะแนน - งบประมาณ การเงิน และตลาด 70 คะแนน - การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน 70 คะแนน - ประสิทธิผลของกระบวนการ 70 คะแนน - ภาวะผู้นำ 70 คะแนน

  37. - ระดับปัจจุบันและแนวโน้มของตัววัด หรือตัวบ่งชี้ที่สำคัญของการเรียนรู้ และการปรับปรุงการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นอย่างไร ผลลัพธ์ดังกล่าวเป็น อย่างไร เมื่อเปรียบเทียบกับผลการดำเนินการของคู่แข่ง สถาบันการ ศึกษาที่เทียบเคียงกันได้ กลุ่มผู้เรียนและส่วนตลาดอื่นๆ (*) • 7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน ก. ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน

  38. 7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน ตัวอย่างผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน

  39. (1) - ผลลัพธ์ปัจจุบันและแนวโน้มด้านความพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เปรียบเทียบกับระดับความพึงพอใจของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่อคู่แข่งและองค์การอื่นที่จัดหลักสูตร บริการที่ส่งเสริมการเรียนรู้และบริการทางการศึกษาอื่นๆที่คล้ายคลึงกัน (2) - ผลลัพธ์ปัจจุบันและแนวโน้ม ด้านการสร้างความสัมพันธ์และความผูกพันของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นอย่างไร ให้เปรียบเทียบผลลัพธ์ในแต่ละช่วงเวลาที่ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาเข้าเรียน ในหลักสูตรและใช้บริการ (*) 7.2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า ก. ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  40. 7.2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า ตัวอย่างผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  41. 7.3 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน และตลาด (1) - ผลการดำเนินการด้านงบประมาณและการเงินของสถาบันเป็น อย่างไร ทั้งนี้ให้รวมถึงตัววัดด้านการควบคุมต้นทุน หรือความ เข้มแข็งด้านการเงิน (*) (2) - ผลการดำเนินการด้านการตลาดของสถาบันเป็นอย่างไร ทั้งนี้ให้รวมถึงตำแหน่ง หรือส่วนแบ่งทางการตลาด การขยายตลาด และส่วนแบ่งตลาดและการเจาะตลาดใหม่ (*) ก. ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน และตลาด

  42. ตัวอย่างผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน และตลาด

  43. 7.4 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน ก. ผลลัพธ์ด้านผู้ปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ด้านความผูกพันของผู้ปฏิบัติงานกับสถาบัน และความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานและกลุ่มผู้นำ ผลลัพธ์ด้านอัตรากำลัง และขีดความสามารถ รวมถึงจำนวนของบุคลากรและทักษะที่เหมาะสม ผลลัพธ์ด้านบรรยากาศการทำงาน รวมถึงสุขอนามัย ความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัยของสถานที่ทำงาน รวมทั้งการให้บริการ และสิทธิประโยชน์ของผู้ปฏิบัติงาน (*)

  44. ตัวอย่างตัววัดด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงานตัวอย่างตัววัดด้านการมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน

More Related