1 / 33

รายงานการประเมินตนเองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2548

รายงานการประเมินตนเองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2548 ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา ของ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) (องค์การมหาชน). 13 พฤศจิกายน 2549 ณ ห้องประชุม 202 จามจุรี 4. ประเด็นการบรรยายสรุป สำหรับผู้บริหาร.

donal
Download Presentation

รายงานการประเมินตนเองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2548

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานการประเมินตนเองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายงานการประเมินตนเองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2548 ตามมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา ของ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) (องค์การมหาชน) 13 พฤศจิกายน 2549 ณ ห้องประชุม202 จามจุรี 4

  2. ประเด็นการบรรยายสรุป สำหรับผู้บริหาร แผนยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการประกันคุณภาพ ความสัมพันธ์นโยบายมหาวิทยาลัย กับความเข้มแข็งของมาตรฐานทั้ง 7 ผลการประเมินคุณภาพรอบแรก และการนำไปใช้ประโยชน์ ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก จุดเด่น และการพัฒนาของของมหาวิทยาลัยในรอบ 5ปีที่ผ่านมา

  3. ผลการประเมินคุณภาพรอบแรก และการนำไปใช้ประโยชน์ สิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุงรวมทั้งสิ้น 6 ด้าน คือ • ด้านงานวิจัย • ด้านการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย • ด้านการบริหารหลักสูตรนานาชาติ • ด้านการประชาสัมพันธ์ภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย • ด้านทรัพยากรบุคคล • ด้านการบริหารจัดการ สิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่องรวมทั้งสิ้น 8 ด้าน คือ • ด้านกระบวนการผลิตบัณฑิต • ด้านหลักสูตร การเรียนการสอน และบรรยากาศการเรียนรู้ • ด้านการวิจัย สร้าง พัฒนา และธำรงค์รักษา คณาจารย์วิจัย และนักวิจัย • ด้านการบริการวิชาการ • ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย • ด้านการประกันคุณภาพ • ด้านการบริหารจัดการสถาบัน • ด้านวัฒนธรรม บรรยากาศในมหาวิทยาลัย

  4. ผลการประเมินคุณภาพรอบแรก และการนำไปใช้ประโยชน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้มีการนำผลการประเมินคุณภาพจากภายนอก • ผสานเข้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบการประเมินสถาบัน • นำผลไปสู่การวางแผนทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาวของสถาบัน • การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย 4 ปี (2547 – 2551) • กลยุทธ์ และการกำหนดแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีของมหาวิทยาลัย • แผนปฏิบัติราชการประจำปี • ควบคู่ไปกับการพัฒนากลไกภายในของสถาบันให้สามารถตอบโจทย์ความต้องการจากภายนอก และสนองลักษณะเฉพาะตัวของตน • พร้อมกับการสร้างแนวทางในการนำแผนฯเหล่านั้นไปสู่การปฏิบัติได้อย่างกลมกลืน เป็นหนึ่งเดียวกับกลไกในการบริหารสถาบัน และกระบวนงาน • ระบบและกลไกด้านการประกันคุณภาพภายในของสถาบันเองมีการพัฒนาเพื่อสามารถให้สามารถ กำกับ เฝ้าระวัง ผลักดันการพัฒนาทั้งในเชิงระบบ เชิงเนื้องานให้เกิดขึ้นอยู่อย่างสม่ำเสมอ สอดคล้องตามการพัฒนาของมหาวิทยาลัยทั้งในปัจจุบันและอนาคต

  5. แผนยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการประกันคุณภาพ วิสัยทัศน์ จุฬาฯ 100 ปี “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งความรู้และแหล่งอ้างอิงของแผ่นดิน เพื่อเสริมสร้างคนและสังคมไทยให้พึ่งพาตนเองได้ แข่งขันได้ และร่วมมือได้อย่างทัดเทียมและยั่งยืนในประชาคมโลก มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ มุ่งเน้นการผสมผสานการวิจัยเข้ากับการเรียนการสอน และมุ่งเน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่” วิสัยทัศน์ (ทบทวนเมื่อปี พ.ศ. 2546) “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งความรู้และแหล่งอ้างอิงของแผ่นดิน เพื่อเสริมสร้างคนและสังคมไทยให้พึ่งพาตนเองได้ แข่งขันได้ และร่วมมือได้อย่างทัดเทียมและยั่งยืนในประชาคมโลก” พันธกิจ “สร้างบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติและเหมาะสมกับสังคม เสริมสร้างนิสิตให้เป็นบัณฑิตที่สามารถครองตนอย่างมีคุณธรรมและเป็นผู้นำสังคมได้ บุกเบิกองค์ความรู้ใหม่และบูรณาการองค์ความรู้เพื่อประโยชน์ของสังคมไทย ถ่ายโอนองค์ความรู้กับสาธารณะเพื่อช่วยพัฒนาสังคมไทยไปสู่การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนในประชาคมโลก ทำนุบำรุงและสืบสานศิลปวัฒนธรรม”

  6. แผนยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการประกันคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจ กลยุทธ์ที่ 1.1 การเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ทางวิชาการ และวิจัย ทั้งในศาสตร์เดียวกัน และการบูรณาการระหว่างศาสตร์ กลยุทธ์ที่ 1.2 การทำให้บัณฑิตของจุฬาฯ มีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ กลยุทธ์ที่ 1.3 การเพิ่มบทบาทของจุฬาฯ ในสังคมประเทศไทย และนานาชาติ กลยุทธ์ที่ 1.4ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร ทันสมัย ที่สามารถสร้างผลผลิตตามพันธกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล กลยุทธ์ที่ 2.1การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร กลยุทธ์ที่ 2.2การพัฒนาระบบบริหารบุคคลของจุฬาฯ กลยุทธ์ที่ 2.3การพัฒนาระบบกายภาพของมหาวิทยาลัย กลยุทธ์ที่ 2.4การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริหารวิชาการ กลยุทธ์ที่ 2.5การประชาสัมพันธ์เชิงรุก กลยุทธ์ที่ 2.6การแสวงหารายได้ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์การบูรณาการระหว่างศาสตร์ มหาวิทยาลัยจะมีการพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ ผ่านทางการบูรณาการเพื่อนำไปสู่เป้าหมาย 3 ประการ ได้แก่ 3.1 คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (Better Life) 3.2 สังคมที่ดีและน่าอยู่ขึ้น (Better Place to Live) 3.3 ความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น (Better Competitiveness)

  7. แผนยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการประกันคุณภาพ Quality built-in Quality Prioritization Quality Continuous Improvement Concept Of QA System Quality for Quality Quality on Diversify แนวทางการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ที่ 2ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร กลยุทธ์ที่ 2.1 การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร นโยบายการประกันคุณภาพ “ยอมรับความแตกต่างที่สร้างสรรค์ ประกันเหนือระดับความคาดหวัง มุ่งสู่นวัตกรรมคุณภาพ วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ที่ชาวจุฬาฯ ทุกคนมีส่วนร่วม”

  8. แผนยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการประกันคุณภาพ แนวคิดการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยแบบใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 2ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร กลยุทธ์ที่ 2.1 การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร

  9. แผนยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการประกันคุณภาพ แนวคิดการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยแบบใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 2ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร กลยุทธ์ที่ 2.1 การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร • การบูรณาการ (Integration) • บูรณาการระหว่างหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการตรวจ • บูรณาการระหว่างหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทเกี่ยวข้องกับระบบประกันคุณภาพ • บูรณาการตามวัตถุประสงค์การประกันคุณภาพ 4 มิติ คือ PQRและS • P: Performanceคือ การพิจารณาในด้านผลลัพธ์ ผลสัมฤทธิ์ของดำเนินการ • (Output & Outcome) รวมไปถึงประสิทธิภาพของระบบ (Process) • Q: Qualityคือ การพิจารณาในด้านคุณภาพของการดำเนินการผลลัพธ์สิ่งที่ได้รับ • R: Risk คือ การพิจารณาในเรื่องความเสี่ยงที่พึงจะเกิดขึ้นกับหน่วยงานไม่ว่า • จะเป็นความเสี่ยงในการดำเนินการ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ยง • ด้านการเงินหรือความเสี่ยงด้านทรัพยากรมนุษย์ • S: Stability คือ การพิจารณาในแง่ เสถียรภาพ ความสม่ำเสมอ และความมั่นคง • ของระบบและหน่วยงาน • PQRS

  10. แผนยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการประกันคุณภาพ แนวคิดการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยแบบใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 2ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร กลยุทธ์ที่ 2.1 การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร

  11. ความสัมพันธ์ของนโยบายมหาวิทยาลัย กับความเข้มแข็งของมาตรฐานทั้ง 7 มาตรฐานที่ 5 ด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร มาตรฐานที่ 3 ด้านการบริการวิชาการ มาตรฐานที่ 1ด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานที่ 6 ด้านหลักสูตร และการเรียนการสอน มาตรฐานที่ 4 ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มาตรฐานที่ 7 ด้านระบบประกันคุณภาพ มาตรฐานที่ 2 ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์

  12. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 1.มาตรฐานด้าน คุณภาพบัณฑิต 6.มาตรฐานด้านหลักสูตร และการเรียนการสอน หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  13. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 1.มาตรฐานด้าน คุณภาพบัณฑิต 6.มาตรฐานด้านหลักสูตร และการเรียนการสอน หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  14. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 1.มาตรฐานด้าน คุณภาพบัณฑิต 6.มาตรฐานด้านหลักสูตร และการเรียนการสอน หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  15. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 2.มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  16. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 2.มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ • หมายเหตุ : • หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง  หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  17. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 2.มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  18. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 3.มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  19. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 4.มาตรฐานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  20. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 5.มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  21. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 5.มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  22. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 5.มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • หมายเหตุ : • หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง  หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  23. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 5.มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร หมายเหตุ : หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  24. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 5.มาตรฐานด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร • หมายเหตุ : • หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง  หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  25. ผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรกผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะของคณะผู้ประเมินรอบแรก 7.มาตรฐานด้านระบบประกันคุณภาพ • หมายเหตุ : • หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรธำรงค์รักษา และพัฒนาให้ยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง  หมายถึง ประเด็นสิ่งที่ควรนำไปพัฒนา ปรับปรุง

  26. ด้านหลักสูตรและการเรียนการสอนด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน ด้านบัณฑิต • พัฒนาโครงการหลักสูตรเกียรตินิยมเพื่อส่งเสริมการเรียนที่มุ่งเน้นการวิจัยอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ระดับปริญญาตรีถึงปริญญาเอก และมหาวิทยาลัยสนับสนุนด้วยการให้ทุนค่าเล่าเรียน • มีการนำ e-learning มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาในลักษณะที่ให้นิสิตค้นคว้าและศึกษาเนื้อหาบางส่วนด้วยตนเอง • การจัดเวลากระบวนการเรียนรู้ในห้องเรียนเพื่อการวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยมีนิสิตเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ • มีการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรสหศาสตร์ใหม่หลายสาขา • มีหลักสูตรที่หลากหลายที่สามารถสนองความต้องการในการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง องค์กรและประเทศ ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพที่สูง สามารถสนองตอบความต้องการต่างๆได้กว่า 500 หลักสูตร ทั้งยังได้มีการพัฒนาหลักสูตรเหล่านี้อย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล • ปรับปรุงการพัฒนาสมรรถนะและทักษะด้านภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และคอมพิวเตอร์ของนิสิต เสริมจากทักษะที่ได้รับจากหลักสูตรปกติของนิสิต • มีการกำหนดและเสริมสร้างให้นิสิตมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยการสร้างรายวิชา และกิจกรรมทั้งในและนอกหลักสูตรที่เหมาะสมและเอื้อต่อการพัฒนานิสิต • มีกระบวนการ กิจรรม และโครงการต่างๆจำนวนมากและหลากหลายทั้งที่จัดในระดับมหาวิทยาลัย และระดับหน่วยงาน ซึ่งส่งเสริมให้นิสิตพัฒนาทักษะการทำงานร่วมกัน มีความคิดริเริ่มเป็นผู้นำ เข้าใจสังคม และบูรณาการความรู้เพื่อประโยชน์ของชุมชน จุดเด่น และการพัฒนาของของมหาวิทยาลัยในรอบ 5ปีที่ผ่านมา

  27. ด้านการวิจัย และงานสร้างสรรค์ ด้านการบริการวิชาการ และบริการสังคม • มหาวิทยาลัยดำเนินโครงการวิจัย 1,033 โครงการวิจัย ครอบคลุมทุกสาขาความเชี่ยวชาญ • โครงการวิจัยที่มีความหลากหลายของโครงการในสาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพอย่างสูง • ลักษณะของโครงการวิจัยสามารถสร้างสรรค์และพัฒนาทั้งแบบที่เป็นโครงการวิจัยแบบบูรณาการ และโครงการที่ลงลึกในแต่ละศาสตร์ • มีการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานและบทความวิจัยในวารสารทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ รวม 1,767 เรื่อง • มีการนำผลงานวิจัยมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน และใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนและสังคม • มีการนำเอาผลจากการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์หรือในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งการจดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร โดยมีหน่วยงานสนับสนุนเพิ่มเติม • ผลงานวิจัยของบุคลากรและนิสิต ได้รับรางวัลในระดับนานาชาติ ระดับชาติ และระดับหน่วยงานในปีนี้ รวมทั้งสิ้น 90 รางวัล • ด้วยความหลากหลายแห่งองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของบุคลากรนำมาพัฒนาให้บริการทางวิชาการ ในรูปแบบต่างได้อย่างตรงความต้องการ และตอบสนอง ตอบโจทย์ความต้องการ การแก้ปัญหา และแสวงหาหนทางพัฒนางานของสังคม ประเทศ และหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งได้มีการบริการรวมกว่า 1,994 โครงการ • สามารถพัฒนาการบริการวิชาการเฉพาะด้าน โดยหน่วยงานที่มหาวิทยาลัยจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ อาทิ ด้านการศึกษาต่อเนื่อง ด้านการพิมพ์ ด้านการกีฬา ฯลฯ จุดเด่น และการพัฒนาของของมหาวิทยาลัยในรอบ 5ปีที่ผ่านมา

  28. ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้านคุณภาพการศึกษา และการประกันคุณภาพ • มีหน่วยงานทั้งที่เป็นหน่วยงานการเรียนการสอนเฉพาะสาขาที่มุ่งเน้น และหน่วยงานที่มีกิจกรรมเพื่อการนี้เป็นการเฉพาะ • มีการดำเนินกิจกรรมทางด้านนี้ อย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม และต่อเนื่องมาโดยตลอด ทั้งยังมีการจัดกิจกรรมตลอดทั้งปี ซึ่งมีผลในการส่งเสริมบรรยากาศและทำให้ศิลปวัฒนธรรมเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตในมหาวิทยาลัย เช่น • มีการเปิดห้องสมุดดนตรีไทย ณ สถาบันวิทยบริการ อาคารมหาธีรราชานุสรณ์ เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลดนตรีไทยในระบบสารสนเทศที่ทันสมัย • มีผลงานศิลปกรรมที่ทรงคุณค่าของประเทศอยู่เป็นจำนวนมากทั้งได้มีการสะสมเพิ่มเติม และดำเนินการดูแลรักษามาโดยตลอดอย่างต่อเนื่อง • ได้ดำเนินการผสมผสานศิลปวัฒนธรรมเข้ากับการเรียนการสอนและกิจกรรมทางวิชาการ เช่น การส่งเสริมเอกลักษณ์ทางภาษา โครงการเยาวชนร่วมใจสืบสานผลงานสุนทรภู่ เป็นต้น • ได้รับการยอมรับทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวในประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลกจาก The Times Higher Education Supplement โดยอยู่ในอันดับที่ 121 จาก 200 อันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในโลก และในสาขาย่อย เป็นอันดับที่ 46 ในสาขาสังคมศาสตร์ อันดับที่ 82 ในสาขาเวชชีวศาสตร์ และอันดับที่ 100 ในสาขาเทคโนโลยี • พัฒนาระบบประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพและการวิเคราะห์ความเสี่ยง ให้บูรณาการเข้าสู่เนื้องานตามพันธกิจผ่านกลไกระบบประกันคุณภาพด้านหลักสูตร ด้านการวิจัย ด้านบริการสนับสนุน และด้านบริการวิชาการ เพื่อนำไปสู่การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ มุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน จุดเด่น และการพัฒนาของของมหาวิทยาลัยในรอบ 5ปีที่ผ่านมา

  29. จุดเด่น และการพัฒนาของของมหาวิทยาลัยในรอบ 5ปีที่ผ่านมา

  30. จุดเด่น และการพัฒนาของของมหาวิทยาลัยในรอบ 5ปีที่ผ่านมา ด้านความเป็นนานาชาติ/สากล • พัฒนาโครงการอาคันตุกะสัมพันธ์ อันนำมาซึ่งความร่วมมือสำคัญต่าง ๆ ตามมา โดยในปีงบประมาณ 2548 มหาวิทยาลัยให้การต้อนรับการมาเยือนของอาคันตุกะต่างประเทศ ทั้งที่เป็นบุคคลและคณะบุคคล รวม 2,010 คน จาก 50 ประเทศชั้นนำทั่วโลก • มีการทำสัญญาความตกลงกับองค์กรระดับนานาชาติ โดยลงนามในปีงบประมาณ 2548 จำนวน 54 สัญญา เป็นสัญญาที่ยังมีผลต่อเนื่องอยู่อีก 312 สัญญา และมีอีก 5 สัญญาที่อยู่ระหว่างการเตรียมการลงนาม โดยเป็นการผูกพันสัญญาระดับคณะ/สถาบัน จำนวน 209 สัญญา และสัญญาระดับมหาวิทยาลัยอีก 162 สัญญา และยังได้มีการลงนามสัญญาความร่วมมือกับสถาบันในต่างประเทศ โดยการประสานงานของสำนักงานวิรัชกิจ จำนวน 275 สัญญา กิจกรรมการส่งบุคลากรทางวิชาการเข้าร่วมประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ และการแลกเปลี่ยนบุคลากร • มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนการส่งบุคลากรทางวิชาการเข้าร่วมประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ เพื่อเจรจาความร่วมมือ นำเสนอผลงานทางวิชาการ/วิจัย อื่น ๆ ในต่างประเทศทั่วทุกทวีป 552 ครั้ง รวม 934 คน • ได้มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนบุคลากรทางวิชาการ (อาจารย์/นักวิจัย/นักวิชาการ/อื่นๆ) กับมหาวิทยาลัย/สถาบันในต่างประเทศ ทั้งที่เป็นการส่งบุคลากรไป และความร่วมมือรับบุคลากรมาที่มหาวิทยาลัย รวม 194 คน • กิจกรรมการแลกเปลี่ยนนิสิต • มีนิสิตในโครงการแลกเปลี่ยน รวม 41 คนจำแนกเป็นนิสิตจุฬาฯ ไปศึกษา ณ ต่างประเทศ และนิสิตต่างชาติมาศึกษาที่จุฬาฯ 18 คน นอกจากนี้ยังมีการส่ง

  31. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับการบริหาร พัฒนา และประกันคุณภาพการศึกษา ผลการประเมินจากสังคมนานาชาติ “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งเดียวของประเทศไทย ที่ติดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก จากการประกาศของ The Times HigherEducation Supplement (THES) นับตั้งแต่ที่ได้เริ่มจัดอันดับมาในปี ค.ศ.2004 จนถึง ปัจจุบัน รวม 3 ปีติดต่อกัน” ในการจัดอันดับภาพรวมของTHESจะประกาศเฉพาะ The World’s Top 200 Universitiesเท่านั้น ซึ่งจุฬาฯ ติดอันดับในตารางดังกล่าว 2 ปีติดต่อกัน

  32. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับการบริหาร พัฒนา และประกันคุณภาพการศึกษา ในการจัดอันดับ เมื่อแบ่งเป็นสาขาย่อย THESจะแบ่งออกเป็น 5 สาขา คือ Science, Technology, Biomedicine, Arts and Humanities, Social ScienceโดยจะประกาศเฉพาะThe World’s Top 100ในสาขาย่อยเท่านั้น ซึ่งใน 3 ปีที่ผ่านมา จุฬาฯ สามารถติดอันดับในสาขาย่อย ดังกล่าวได้ถึง 4 สาขา หากพิจารณาเปรียบเทียบเฉพาะในกลุ่มประเทศ ASEAN จุฬาฯ ในภาพรวมถูกจัดเป็นอันดับที่ 3ติดต่อกันสองปีซ้อน ในการจัดอันดับทางด้าน Website โดย Webometrics จุฬาฯ ได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับที่ 1 ของประเทศไทย ติดต่อกันสองปีซ้อน คือ ในปี 2005 และ 2006 เป็นอันดับที่3ในกลุ่มประเทศ ASEAN และเป็นอันดับที่ 26ในกลุ่มประเทศ ASIA

  33. “ด้วยความขอบคุณอย่างยิ่ง”“ด้วยความขอบคุณอย่างยิ่ง” คณะผู้ตรวจประเมิน และผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

More Related