1 / 47

ผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ. นำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษี. เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน. วัตถุประสงค์ของโครงการ. 1. พัฒนารูปแบบและขั้นตอนการดำเนินงานการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อใช้ดำเนินการต่อไปในอนาคต

donald
Download Presentation

ผลการดำเนินโครงการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการดำเนินโครงการ นำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษี เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

  2. วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ 1. พัฒนารูปแบบและขั้นตอนการดำเนินงานการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อใช้ดำเนินการต่อไปในอนาคต 2. เพื่อเตรียมความพร้อมการดำเนินการ สำหรับการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงานให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อให้ภาคเอกชนเข้าใจในลักษณะ และขั้นตอนการดำเนินงานของการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

  3. วัตถุประสงค์ของโครงการ (ต่อ) 4. เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมการดำเนินงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในโรงงานและอาคาร 5. เพื่อเป็นตัวอย่างอันดีในการอนุรักษ์พลังงานแก่ภาคเอกชน

  4. แนวทางการให้การสนับสนุนแนวทางการให้การสนับสนุน - วงเงินโครงการ 100 ล้านบาท - วงเงินสนับสนุนสูงสุด ต่อสถานประกอบการ 2 ล้านบาท โครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษี เพื่อการอนุรักษ์ฑลังงาน

  5. หลักเกณฑ์และเงื่อนไข เป็นการสนับสนุนแบบคิดคำนวณสิทธิประโยชน์จากผลประหยัด (Performance-base Incentive) คือ “การสนับสนุนสิทธิประโยชน์ ในอัตราภาษีของสถานประกอบการนั้นๆ ตามมูลค่าผลประหยัดพลังงานที่ตรวจวัดได้อย่างชัดเจน” เช่น สถานประกอบการชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 30 ดังนั้น เงินสนับสนุน=(ผลประหยัดที่ตรวจวัดได้จริงปีภาษี 49 x ร้อยละ 30) *สนับสนุนได้สูงสุดไม่เกิน 2 ล้านบาทต่อแห่ง *สนับสนุนไม่เกินภาษีที่ชำระจริงในปี 2549 โครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษี เพื่อการอนุรักษ์ฑลังงาน

  6. ผู้มีสิทธิ์ได้เงินสนับสนุนผู้มีสิทธิ์ได้เงินสนับสนุน 1. มีนโยบาย แนวทาง วิธีการ และเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจน 2. ต้องมีองค์ประกอบของทีมงานด้านอนุรักษ์พลังงานดังนี้ 2.1 เจ้าของและ/หรือผู้บริหาร 2.2 ผู้ดูแลด้านการใช้พลังงาน 2.3 พนักงานระดับปฏิบัติงาน เจ้าของโรงงานหรืออาคารที่เป็นเอกชน และมีระบบ ”การจัดการด้านพลังงาน”อย่างเป็นรูปธรรม กล่าวคือ

  7. มาตรการที่เข้าข่ายการขอรับสิทธิประโยชน์มาตรการที่เข้าข่ายการขอรับสิทธิประโยชน์ 1. ต้องลดการใช้พลังงานเดิม หรือทดแทนการ ใช้น้ำมันเชื้อเพลิง หรือไฟฟ้า 2. ในกรณีที่มาตรการมีผลให้การผลิตมีการ เปลี่ยนแปลง จะต้องมีการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตลดลง หรือ มีประสิทธิภาพการใช้พลังงานเพิ่มขึ้น โครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษี เพื่อการอนุรักษ์ฑลังงาน

  8. คณะกรรมการ ประกอบด้วย 1. คุณทวี บุตรสุนทร ประธานกรรมการ 2. ศ.ดร.จุลละพงษ์ จุลละโพธิ์ กรรมการ 3. ร.ศ.มานิจ ทองประเสริฐ กรรมการ 4. คุณธำรง คุโณปการ กรรมการ 5. อธิบดี พพ. กรรมการ/เลขานุการ 6. คุณธรรมยศ ศรีช่วย ผู้ช่วยเลขานุการ

  9. ที่ปรึกษาตรวจสอบ ประกอบด้วย 4 สถาบันการศึกษา ดังนี้ • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยมหิดล • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  10. สรุปสถานประกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งสิ้น 119 แห่ง - ประเภทอาคาร 25 แห่ง - ประเภทโรงงาน 94 แห่ง

  11. สรุปสถานประกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งสิ้น 119 แห่ง แห่ง กลุ่มอุตสาหกรรม ที่ให้ความสนใจปานกลาง กลุ่มอุตสาหกรรม ที่ให้ความสนใจน้อย กลุ่มอุตสาหกรรม ที่ให้ความสนใจมาก

  12. สถานประกอบการแยกตามพื้นที่ เขตภูมิภาค 62 แห่ง กรุงเทพและปริมณฑล 57 แห่ง ชลบุรี นครสวรรค์ นครนายก อยุธยา ลพบุรี ระยอง สมุทรสาครสระบุรี ตรัง ภูเก็ต ปราจีนบุรี อ่างทอง ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบฯ นครศรีฯ กาฬสินธุ์ นครราชสีมา ฉะเชิงเทรา เชียงใหม่ ขอนแก่น ชัยภูมิ สงขลา กรุงเทพฯ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ

  13. สถานประกอบการแยกตามพื้นที่

  14. สถานประกอบการ /ผู้ตรวจวัด(M&V) ผู้ตรวจสอบ คณะกรรมการฯ ส่งใบสมัคร พิจารณาคุณสมบัติ ตอบรับและแต่งตั้ง ผู้ตรวจสอบ ดำเนิน มาตรการ อนุรักษ์ พลังงาน Pre Audit Post Audit ตรวจสอบ ส่งรายงาน Auditor เห็นชอบการ ตรวจวัด ตรวจสอบ ยื่นเอกสารขอเบิกเงิน ให้สิทธิประโยชน์ ขั้นตอนการดำเนินโครงการ

  15. ภาพกิจกรรมการสัมมนาเปิดโครงการภาพกิจกรรมการสัมมนาเปิดโครงการ

  16. ภาพการประชุมคณะกรรมการฯภาพการประชุมคณะกรรมการฯ

  17. การตรวจสอบการตรวจวัดและพิสูจน์ผล การอนุรักษ์พลังงาน

  18. สถานประกอบการ ที่ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามขั้นตอน ตลอดระยะเวลาของโครงการนำร่องฯ มีสถานประกอบการที่ดำเนินงานตามขั้นตอน และคณะกรรมการฯ ให้ความเห็นชอบในวิธีการตรวจวัดพลังงาน และรับรองผลประหยัด รวมทั้งสิ้น 74 แห่ง

  19. ผลสำเร็จของการดำเนินโครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงานผลสำเร็จของการดำเนินโครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ผลสำเร็จที่เกิดขึ้น มาจากปัจจัยที่สำคัญ ดังนี้ • ความคิดริเริ่มในการดำเนินโครงการฯ และแผนงานที่เป็นระบบของ พพ. • ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์จากคณะกรรมการพิจารณาสิทธิประโยชน์ในโครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน • ความมุ่งมั่นในการทำงานและการรักษามาตรฐานในการตรวจสอบฯ ของ Auditor • ความร่วมมืออย่างดียิ่ง จากสถานประกอบการ

  20. ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการ ทางด้านไฟฟ้าจำนวนทั้งหมด 75มาตรการ คิดเป็นผลประหยัดรวม 41,232,367.37kWh/ปี คิดเป็นมูลค่ารวม 117,270,131.27บาท/ปี ทางด้านความร้อนจำนวนทั้งหมด34มาตรการ คิดเป็นผลประหยัดรวม712,314,305.71MJ/ปี คิดเป็นมูลค่ารวม 284,265,923.15บาท/ปี สรุปภาพรวมผลสำเร็จของโครงการแยกตามกลุ่มมาตรการ

  21. สามารถกระตุ้นให้ภาคอุตสาหกรรมลงทุนในมาตรการอนุรักษ์พลังงานรวม546,232,915.59บาท เกิดผลประหยัดรวม 401,536,054.42บาท/ปี หรือ ช่วยชาติลดการนำเข้าน้ำมันดิบ 19.90ล้านลิตร/ปี โดย พพ. สนับสนุนการจ่ายคืนเงินภาษีรวม 42,639,321.45บาท สรุปภาพรวมผลสำเร็จของโครงการด้านเงินลงทุนและผลตอบแทน

  22. มูลค่าผลตอบแทนสะสม ด้านพลังงานในอีก 3 ปี

  23. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการแยกตามกลุ่มมาตรการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการแยกตามกลุ่มมาตรการ

  24. กราฟแสดงผลประหยัดที่เกิดขึ้นกราฟแสดงผลประหยัดที่เกิดขึ้น - กลุ่มที่มีผลประหยัดสูง ล้านบาท

  25. กราฟแสดงผลประหยัดที่เกิดขึ้นกราฟแสดงผลประหยัดที่เกิดขึ้น - กลุ่มที่มีผลประหยัดปานกลาง ล้านบาท

  26. กราฟแสดงผลประหยัดที่เกิดขึ้นกราฟแสดงผลประหยัดที่เกิดขึ้น - กลุ่มที่มีผลประหยัดน้อย ล้านบาท

  27. กราฟแสดงปริมาณกลุ่มมาตรการกราฟแสดงปริมาณกลุ่มมาตรการ ที่ได้รับความสนใจจากภาคอุตสาหกรรม

  28. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (เคมี) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • ไฟฟ้า 6,916,152.31 kWh/ปี • - ความร้อน - MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.59 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 27,601,751.40 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 19,734,830.03บาท

  29. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (โลหะมูลฐาน) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 353,987.71 kWh/ปี • ความร้อน 1,419,533.00MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.06 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 7,229,293.93 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 5,277,911.00 บาท

  30. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (ห้างสรรพสินค้า) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 1,641,748.47 kWh/ปี • ความร้อน - MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.14 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 5,507,790.75 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 24,417,132.10 บาท

  31. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (โรงแรม) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 897,452.26 kWh/ปี • ความร้อน 2,564,744.69 MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.14 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 3,901,730.85 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 10,085,021.50 บาท

  32. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (อาหารเครื่องดื่มและยาสูบ) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 8,969,061.79 kWh/ปี • ความร้อน 591,139,111.67 MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 14.36 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 178,101,528.70 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 192,700,397.05 บาท

  33. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (อโลหะ) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 3,166,101.29 kWh/ปี • ความร้อน 10,786,630.00 MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.52 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 11,181,438.30 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 27,595,552.00 บาท

  34. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (สิ่งทอ) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 4,335,378.59 kWh/ปี • ความร้อน 5,892,812.00 MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.23 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 104,357,398.01 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 115,366,617.50 บาท

  35. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (อื่นๆ) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 2,198,528.50 kWh/ปี • ความร้อน 3,299,207.09 MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.26 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 10,692,751.29 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 7,051,299.41 บาท

  36. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (หินกรวดดินทราย) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 9,716,010.95 kWh/ปี • ความร้อน 88,094,460.00 MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 2.85 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 29,281,282.90 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 63,233,994.00 บาท

  37. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (ผลิตภัณฑ์เครื่องจักรโลหะ และอุปกรณ์) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 1,183,471.93 kWh/ปี • ความร้อน 3,048,317.87 MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.17 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 4,090,936.86 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 19,870,986.00 บาท

  38. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (กระดาษ) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า - kWh/ปี • ความร้อน 17,855,113.39 MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.41 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 14,376,369.86 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 45,000,000.00 บาท

  39. สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการสรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามประเภทอุตสาหกรรม (อิเลคทรอนิกส์) ผลประหยัดจากการดำเนินมาตรการทั้งหมด • - ไฟฟ้า 1,854,473.57 kWh/ปี • ความร้อน - MJ/ปี คิดเป็นผลประหยัดทั้งหมด 0.16 ktoe/ปี คิดเป็นเงินทั้งหมด 5,213,781.57 บาท/ปี เงินลงทุนรวม 15,899,175.00 บาท

  40. สรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการสรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการ

  41. สรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการสรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการ

  42. สรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการสรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการ

  43. สรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการสรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการ

  44. สรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการสรุปภาพรวมผลประหยัดจากการดำเนินโครงการ

  45. สถานประกอบการบางแห่งไม่สามารถเข้าร่วมโครงการนำร่องฯได้สถานประกอบการบางแห่งไม่สามารถเข้าร่วมโครงการนำร่องฯได้ • ไม่มีการกำหนดผลประหยัดพลังงานขั้นต่ำที่สามารถเข้าร่วมโครงการนำร่องฯ • ข้อจำกัดด้านรอบปีภาษี • มาตรการประหยัดพลังงานบางประเภทจะไม่สามารถเข้าร่วมโครงการนำร่องฯได้ • ข้อจำกัดในวงเงินสนับสนุน • วิธีการตรวจวัดผลประหยัดตามข้อกำหนดของโครงการนำร่องฯ ปัญหา อุปสรรค ที่พบ

  46. แนวทางการแก้ไข ดำเนินการรวบรวม ปัญหาอุปสรรค ที่ประสบในโครงการนำร่องฯ ทั้งจากส่วนบริหารงาน ส่วนตรวจสอบการดำเนินงาน และส่วนสถานประกอบการ เพื่อประเมินผลแล้วนำเสนอ พพ. ใช้เป็นแนวทางพิจารณาการดำเนินงานในระยะที่ 2 ของโครงการต่อไป

  47. โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 2 เร็วๆ นี้ สายด่วน Tax Incentive0 2222 4485-6

More Related