1 / 23

การจัดการดำเนินงาน (Operations Management)

MJU. การออกแบบระบบการดำเนินการ บทที่ 10 การวางแผนกำลังการผลิต ( Capacity Planning). การจัดการดำเนินงาน (Operations Management). MJU. การวางแผนกำลังการผลิต. การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) - APP.

donkor
Download Presentation

การจัดการดำเนินงาน (Operations Management)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MJU. การออกแบบระบบการดำเนินการ บทที่ 10 การวางแผนกำลังการผลิต (Capacity Planning) การจัดการดำเนินงาน(Operations Management)

  2. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) - APP • เป็นการวางแผนระดับการผลิตและทรัพยากรการผลิตโดยรวม เพื่อให้อุปทานของสินค้า สอดคล้องกับอุปสงค์ของสินค้า • ในการวางแผนการผลิตรวม ผู้บริหารจะสามารถเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ / อุปทาน ได้ คือ

  3. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ (Modifying Demand) หรือ วิธีการปรับความต้องการสินค้าของลูกค้า • ตั้งราคา (Pricing) :- ลดราคา/ให้ส่วนลดเมื่อซื้อจำนวนมาก • ส่งเสริมการจำหน่าย (Promoting) :- โฆษณา แจกตัวอย่าง ให้ของแถม • ผลิตสินค้าเสริม (Complementary Products) :- สินค้าที่มีความต้องการตามฤดูกาล ควรผลิตสินค้าอื่นเพิ่ม เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรการผลิตที่มีอยู่ได้มากขึ้น • สั่งซื้อค้างส่ง/การจอง (Backorders/Reservation) • Backorders หมายถึง การไม่มีสินค้าหรือสินค้ามีไม่พอกับที่ลูกสั่งซื้อ • Reservation หมายถึง ลูกค้าบอกความต้องการสินค้าในอนาคต

  4. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การเปลี่ยนแปลง อุปทาน (Modifying Supply) หรือ วิธีการปรับปริมาณสินค้าของผู้ขาย/ผู้ผลิต • จ้างแรงงานเพิ่ม / ปลดแรงงานออก (Hiring / Layoff) ใช้กับ unskilled labor หาแรงงานได้ง่าย ไม่มีปัญหากับสหภาพแรงงาน • จ้างแรงงานชั่วคราว (Part-Time Labor) เข้ามาเสริมแรงงานที่มีอยู่เดิม ในบางช่วงเวลาที่มี demand มาก • ทำงานล่วงเวลา / ลดเวลาทำงาน (Overtime / Undertime) • ว่าจ้างผู้ผลิตรายอื่น (Subcontracting) • เก็บรักษาสินค้าคงคลัง (Carrying Inventory) โดยยังคงรักษาระดับการผลิตที่คงที่ไว้

  5. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กลยุทธ์การวางแผนการผลิตรวม 1. กลยุทธ์การผลิตสินค้าในระดับสม่ำเสมอ (Level Strategy) ผลิตเฉลี่ยเท่ากันในแต่ละงวด ไม่ว่า demand ในงวดนั้นจะเป็นเท่าใดก็ตาม • demand < supply  เก็บสินค้าส่วนเกินไว้เป็นสินค้าคงคลัง • demand > supply  นำสินค้าคงคลังออกมาขาย 2. กลยุทธ์การผลิตสินค้าตามการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์(Chase Strategy) ผลิตเท่ากับ demand ในแต่ละงวด • demand < supply  …?...การผลิต • demand > supply …?...การผลิต ลดการผลิต ปลดแรงงาน

  6. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ตัวอย่างการหาต้นทุนในการวางแผนการผลิตรวมโดยใช้กลยุทธ์การผลิตสินค้าในระดับสม่ำเสมอ และตามการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ เงื่อนไขที่กำหนด ต้นทุนการจ้างแรงงานเพิ่ม 200 บาท/คน ต้นทุนการปลดแรงงานออก 1,000 บาท/คน ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 1 บาท/หน่วย/ไตรมาส ความสามารถในการผลิต 1,000 หน่วย/คน/ไตรมาส ในไตรมาสที่ 1 มีจำนวนแรงงาน 200 คน

  7. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต 200,000 – 160,000 160,000 / 1,000 200 - 160 200,000 + 40,000 – 100,000 160 - 100 100,000 / 1000 100 - 240 240 - 300 40,000 + 140,000 + 100,000 + 0 280,000 * 1 บาท (200 * 200 บาท) + (100 * 1,000 บาท) ต้นทุนการจ้างแรงงานเพิ่ม 200 บาท/คน ต้นทุนการปลดแรงงานออก 1,000 บาท/คน ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 1 บาท/หน่วย/ไตรมาส ความสามารถในการผลิต 1,000 หน่วย/คน/ไตรมาส ในไตรมาสที่ 1 มีจำนวนแรงงาน 200 คน

  8. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ต้นทุนการจ้างแรงงานเพิ่ม 200 บาท/คน ต้นทุนการปลดแรงงานออก 1,000 บาท/คน ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 1 บาท/หน่วย/ไตรมาส ความสามารถในการผลิต 1,000 หน่วย/คน/ไตรมาส ในไตรมาสที่ 1 มีจำนวนแรงงาน 200 คน

  9. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กำหนดการผลิต (Scheduling) Scheduling เป็นการวางแผนเพื่อระบุว่างานหรือกิจกรรมใด ควรจะกระทำในเวลาใด และต้องใช้ทรัพยากรในการผลิตอย่างใด • เพื่อให้สามารถผลิตสินค้า/บริการส่งมอบให้แก่ลูกค้าได้ ภายในเวลาที่กำหนด • เพื่อให้ใช้เวลาในการผลิตและทำงานล่วงเวลาน้อยที่สุด • เพื่อให้ใช้ประโยชน์จากเครื่องจักร/แรงงานมากที่สุด • เพื่อให้มีปริมาณงานล่าช้า/งานระหว่างทำน้อยที่สุด • เพื่อให้มีเวลาสูญเปล่าในการผลิตน้อยที่สุด Scheduling เป็นการวางแผนกำลังการผลิตขั้นสุดท้าย ก่อนที่จะมีการผลิตเกิดขึ้นจริง

  10. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ประเภทของกำหนดการผลิต • กำหนดการผลิตตามสายงาน (Line Scheduling) • กำหนดการผลิตแบบจ๊อบซ็อบ (Job Shop Scheduling) • กำหนดการผลิตแบบโครงการ (Project Scheduling)

  11. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กำหนดการผลิตตามสายงาน (Line Scheduling) ในการผลิตที่เครื่องจักรสามารถทำการผลิตสินค้าได้ครั้งละ 1 ประเภทเท่านั้น เมื่อจะทำการผลิตสินค้าอื่นจะต้องมีการปรับตั้งเครื่องจักรใหม่ ดังนั้น สิ่งที่ต้องพิจารณามีดังนี้ • ปริมาณการผลิตในแต่ละครั้ง (Lot Size) โดยต้องหาปริมาณการผลิตสินค้าที่ประหยัดที่สุด - EOQ • กำหนดการผลิตของแต่ละสายงาน (Line Scheduling) โดยต้องหาว่าควรจะทำการผลิตสินค้าประเภทใด และผลิตในเวลาใด – Run-out Time

  12. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ปริมาณการผลิตในแต่ละครั้ง (Lot Size) Q = √(2CoD) / Cc Q = ปริมาณการสั่งสินค้า (Lot Size) Co = ต้นทุนในการสั่งผลิตสินค้าต่อครั้ง (Ordering cost per time) D = อัตราความต้องการสินค้า (Demand Rate) Cc = ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าต่อหน่วย (Carrying cost per unit)

  13. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กำหนดการผลิตของแต่ละสายงาน (Line Scheduling) Run-out time = สินค้าคงคลัง(Inventory) ความต้องการสินค้า(Demand) ในการตัดสินใจว่าจะทำการผลิตสินค้าประเภทใดก่อน ดูจากสินค้าใดมี run-out time ต่ำที่สุดจะทำการผลิตก่อน เพราะแสดงว่าจำนวนสินค้าคงคลังของสินค้านั้นมีน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับความต้องการสินค้าที่คาดว่าจะเกิดขึ้น

  14. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต โรงงานมีการผลิตสินค้า A, BLot Size สินค้า A =3,000 หน่วยต่อครั้ง Forecast demand = 600 หน่วยต่อสัปดาห์Lot Size สินค้า B = 2,000 หน่วยต่อครั้ง Forecast demand = 300 หน่วยต่อสัปดาห์ 2,000 / 600 3.33 2.67 0+2,000 - 600 2,000 + 800 - 300 2,500 300 ในสัปดาห์ที่ 5 ท่านจะทำการผลิตสินค้าใด

  15. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต กำหนดการผลิตแบบจ็อบซ็อบ (Job Shop Scheduling) เป็นการผลิตสินค้าหลายประเภท ที่แต่ละประเภทมีเส้นทางการผลิตที่ต่างกัน วิธีการผลิตแบบ Job Shop มี 4 ประเภท คือ • การจัดภาระงาน (Loading) • การจัดลำดับงาน (Sequencing) • การจ่ายงาน (Dispatching) • การใช้กฎของจอห์นสัน (Johnson’s rule)

  16. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การจัดภาระงาน (Loading) เป็นการมอบหมายงานแต่ละอย่างให้เครื่องจักรและแรงงาน การจัดภาระงานมี 2 ประเภท 1. การจัดภาระงานแบบไปข้างหน้า (Forward Loading) 2. การจัดภาระงานแบบย้อนกลับ (Backward Loading)

  17. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต Forward Loading 19 งานที่ 1 ผ่านสถานี A โดยใช้เวลาทำงานที่ A 2 ชั่วโมง ผ่านสถานี B โดยใช้เวลาทำงานที่ B 1 ชั่วโมง ผ่านสถานี C โดยใช้เวลาทำงานที่ C 4 ชั่วโมง 12 12 22 2 + 6 + 1 + 6 + 4 กำหนดให้เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายและรอคิวเข้าผลิตระหว่างสถานี = 6 ชั่วโมง A A - - - - - - B - - - - - - C CC C C CC C - - - - - - A A B B B B - - - - - - A A B B B BB - - - - - - A A - - - - - - C C C

  18. การวางแผนกำลังการผลิตการวางแผนกำลังการผลิต Backward Loading กำหนดให้เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายและรอคิวเข้าผลิตระหว่างสถานี = 6 ชั่วโมง A A - - - - - - B - - - - - - C CC C C CC C - - - - - - A A B B B B - - - - - - A A - - - - - - B B B BB A A - - - - - - C C C

  19. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต ให้ทำ Forward Loading, Backward Loading และ จัดลำดับงาน(Sequencing) เพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อนกันในแต่ละสถานีผลิตพร้อมทั้งให้แสดงตารางการจัดภาระงาน กำหนดให้เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายและรอคิวเข้าผลิตระหว่างสถานี = 3 ชั่วโมง

  20. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การจัดลำดับงาน (Sequencing) เป็นการมอบหมายงานมากกว่า 1 งาน ให้กับเครื่องจักรซึ่งมีเพียง 1 เครื่อง ดังนั้นจะต้องทำการตัดสินใจว่างานใดจะทำก่อน-หลัง เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าได้ทันตามกำหนดส่งมอบทุกงาน และเพื่อให้มีเวลาว่าง/เวลาสูญเปล่าของเครื่องจักรน้อยที่สุด วิธีการ – ทดลองจัดลำดับงานสลับกันเรื่อยๆ จนกว่าจะได้วิธีที่ทุกงาน เสร็จภายในกำหนด และมีเวลาว่างน้อยที่สุด

  21. MJU. การวางแผนกำลังการผลิต การจ่ายงาน (Dispatching) • เป็นการมอบหมายงานมากกว่า 1 งาน ให้กับเครื่องจักรซึ่งมีเพียง 1 เครื่อง ดังนั้นจะต้องทำการตัดสินใจว่างานใดจะทำก่อน-หลัง เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าได้ทันตามกำหนดส่งมอบทุกงาน และเพื่อให้มีเวลาว่าง/เวลาสูญเปล่าของเครื่องจักรน้อยที่สุด วิธีการ – 1. ทำงานที่เข้ามาก่อนเป็นลำดับแรก (First come first served) 2. ทำงานที่ถึงกำหนดก่อน (Earliest due date) (DDATE) 3. ทำงานที่มีเวลาว่างน้อยที่สุดก่อน (Minimum slack) (SLACK) 4. ทำงานที่ใช้เวลาในการผลิตน้อยที่สุดก่อน (Shortest processing time) (SPT)

  22. การจัดกำหนดการให้บริการการจัดกำหนดการให้บริการ • วิธีช่วยในการจัดกำหนดการผลิตของการให้บริการ • การนัดหมายล่วงหน้า (Appointments) ลูกค้าระบุถึงความต้องการที่จะใช้บริการในอนาคต :- นัดแพทย์ นิยมใช้สำหรับการให้บริการทางวิชาชีพ • การจอง (Reservations) :- จองห้องพัก เป็นการจองการใช้บริการจากสถานที่ • การสั่งย้อนหลัง (Backorders) ลูกค้ามีความต้องการที่จะใช้บริการเกิดขึ้นแล้วในปัจจุบัน แต่ผู้ให้บริการยังไม่สามารถให้บริการในเวลานั้นได้ ทำให้ลูกค้าต้องรอคิวเพื่อรับบริการในเวลาต่อมา :- การรอคิวการให้บริการของศูนย์บริการรถยนต์

  23. MJU. Line Scheduling การวางแผนกำลังการผลิต Lot Size Forward Run-out time Backward มีเวลาว่างน้อยที่สุด ผลิตตาม สายงาน EOQ ใช้เวลาผลิตน้อยที่สุด จัดภาระงาน Loading จัดลำดับงาน Sequencing เครื่องจักรสามารถรับการผลิตสินค้าได้ครั้งละ 1 อย่าง เข้าก่อน ประเภท ของกำหนด การผลิต ถึงกำหนดก่อน ผลิตแบบ Job Shop ผลิตแบบ Project Johnson’s rule จ่ายงาน Dispatching

More Related