1 / 24

เส้นทางสื่อสาธารณะ - สื่อเสรี

เส้นทางสื่อสาธารณะ - สื่อเสรี. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์. ปัญหาของสื่อวิทยุ-โทรทัศน์. สถานีโทรทัศน์เอกชน ไม่ผลิตรายการสาระที่มีคุณภาพเท่าที่ควร เพราะต้นทุนสูงแต่ผลตอบแทนต่ำ สถานีโทรทัศน์ของรัฐ ขาดความเป็นอิสระและถูกแทรกแซงได้ง่าย รายการจำนวนมากมีปัญหาเรื่องจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม

Download Presentation

เส้นทางสื่อสาธารณะ - สื่อเสรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เส้นทางสื่อสาธารณะ-สื่อเสรีเส้นทางสื่อสาธารณะ-สื่อเสรี สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์

  2. ปัญหาของสื่อวิทยุ-โทรทัศน์ปัญหาของสื่อวิทยุ-โทรทัศน์ • สถานีโทรทัศน์เอกชน ไม่ผลิตรายการสาระที่มีคุณภาพเท่าที่ควร เพราะต้นทุนสูงแต่ผลตอบแทนต่ำ • สถานีโทรทัศน์ของรัฐ ขาดความเป็นอิสระและถูกแทรกแซงได้ง่าย • รายการจำนวนมากมีปัญหาเรื่องจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม • ประชาชนขาดกลไกในการสื่อสารเพื่อเรียนรู้ระหว่างกัน

  3. รายการในสถานีโทรทัศน์ของไทยรายการในสถานีโทรทัศน์ของไทย

  4. พลเมือง v ผู้บริโภค

  5. โครงสร้างกำหนดพฤติกรรมโครงสร้างกำหนดพฤติกรรม • โครงสร้าง • เจ้าของ • ที่มาของรายได้ • พฤติกรรม • การผลิตรายการ • ความสัมพันธ์กับสังคม • ผลลัพธ์ • ผังรายการ • คุณภาพรายการ • รัฐ • นโยบายและกฎระเบียบ • การอุดหนุน

  6. ธุรกิจสัมปทานกับการเมืองธุรกิจสัมปทานกับการเมือง ที่มา: Bunkanwanicha and Wiwattanakantang (2006)

  7. ทีวีสาธารณะ • ผลิตรายการที่มีคุณภาพสูงเพื่อประโยชน์สาธารณะ • เป็นอิสระจากรัฐบาล และการเมือง • เป็นอิสระจากทุนและผลประโยชน์ธุรกิจ • มีความรับผิดชอบต่อสังคม • ประชาชนมีส่วนร่วมและเป็นเจ้าของอย่างแท้จริง • ประชาชนคือพลเมืองเจ้าของประเทศ

  8. องค์การวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์สาธารณะ องค์การวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์สาธารณะ • เป็นองค์กรมหาชนตามกฎหมายพิเศษ -เป็นหน่วยงานของรัฐ ที่ไม่ใช่ราชการและรัฐวิสาหกิจ • มีสำนักงานในกรุงเทพและปริมณฑล

  9. วัตถุประสงค์ขององค์การวัตถุประสงค์ขององค์การ • เป็นผู้นำในการผลิตและสร้างสรรค์รายการข่าวสาร สาระคุณภาพสูงที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ • เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน • มุ่งยกระดับการเรียนรู้ของประชาชนทุกภาคส่วน ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก • ไม่แสวงหาผลกำไร เป็นอิสระจากรัฐและธุรกิจ ภายใต้การดำเนินการอย่างมีคุณธรรม และยึดหลักจริยธรรมทางวิชาชีพ

  10. รัฐบาล คณะกรรมการสรรหา พนักงาน คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการรับเรื่องร้องเรียน สภาผู้ชม-ผู้ฟังรายการ เสนอชื่อ แต่งตั้ง แต่งตั้ง แต่งตั้ง บริหาร

  11. การเผยแพร่รายการ • ให้องค์การมีสถานีโทรทัศน์และสถานีวิทยุภาคพื้นดินระดับชาติ อย่างน้อยอย่างละ 1 สถานี ซึ่งห้ามโฆษณา • องค์การอาจตั้งสถานีโทรทัศน์ และสถานีวิทยุระบบอื่นได้เพิ่มเติม แต่ต้องได้รับอนุญาตจาก กสช. และถ้ามีโฆษณา ห้ามรับการอุดหนุนจากรายได้อื่นขององค์การ • รายการต้องสอดคล้องกับวัตุประสงค์องค์การ • การจัดทำผังรายการต้องไม่ตอบแทนผู้สนับสนุนองค์การในเชิงพาณิชย์ • ผู้อำนวยการต้องเสนอผังให้คณะกรรมการพิจารณาทุกไตรมาส หรือทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญ

  12. รายการที่จะผลิต • ข่าวที่ถูกต้องตามความเป็นจริงและเป็นกลางทางการเมือง และรายงานข่าวสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือภัยพิบัติ • รายการส่งเสริมการพัฒนาประชาธิปไตย การมีส่วนร่วม และการถกอภิปรายของประชาชนในประเด็นสาธารณะอย่างมีข้อมูลและเหตุผล • รายการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และประชาชน • รายการส่งเสริมความหลากหลายทางวัฒนธรรม • รายการบันเทิงที่สร้างสรรค์ ส่งเสริมคุณค่าที่ดี

  13. ข้อกำหนดจริยธรรม • ความเที่ยงตรง เป็นกลาง และเป็นธรรม • ความเป็นส่วนตัว และสิทธิส่วนบุคคล • รายการสำหรับเด็กและเยาวชนที่เหมาะสม • การจัดการความรุนแรง กิจกรรมทางเพศ การทำผิดกฎหมายหรือศีลธรรม และภาษาหยาบคาย • วิธีปฏิบัติต่อผู้เสียหายและผู้ที่อยู่ในภาวะเศร้าโศก • การซื้อข้อมูล-การจัดการกับผลประโยชน์ทับซ้อน • การไม่เลือกปฏิบัติจากความแตกต่างด้านถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ สถานะ ศาสนา ฯลฯ • การปกป้องแหล่งข่าว • ฯลฯ ต้องเผยแพร่ข้อกำหนดจริยธรรมต่อสาธารณะ

  14. ประมาณการค่าใช้จ่าย • ค่าใช้จ่ายในช่วงก่อนออกอากาศจริง 200-400 ล้านบาท • ค่าผลิตและเผยแพร่รายการ 1,100-1,700 ล้านบาทต่อปี • ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนผู้ผลิตรายการระดับชุมชนในการพัฒนาศักยภาพผลิตรายการ

  15. ที่มารายได้

  16. ที่มาของรายได้ • ภาษีพิเศษที่จัดเก็บจากเหล้า-บุหรี่ ซึ่งกันไว้ให้ (earmarked tax) ร้อยละ 1.5 ของภาษีสรรพสามิตเหล้า-บุหรี่แต่ไม่เกินเพดานสูงสุด (ปีแรกไม่เกิน 2 พันล้านบาท) • ปรับเพดานสูงสุดทุก 3 ปี โดยดูเงินเฟ้อ ขอบเขตงาน และผลงาน • เงินสนับสนุนองค์การ • เงินบริจาค • ทรัพย์สินทางปัญญา

  17. การขยายตัวของโฆษณา ล้านบาท

  18. โครงสร้างรายได้ของระบบโทรทัศน์โครงสร้างรายได้ของระบบโทรทัศน์

  19. รัฐบาล รัฐสภา คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการรับเรื่องร้องเรียน สภาผู้ชม-ผู้ฟังรายการ รายงาน รายงาน รายงาน

  20. สภาผู้ชมและผู้ฟังรายการสภาผู้ชมและผู้ฟังรายการ • ที่ประชุมตัวแทนของประชาชนในภูมิภาคและกลุ่มต่างๆ เพื่อให้ความคิดเห็นและคำแนะนำต่อการผลิตรายการขององค์การจากผู้ชมและผู้ฟังรายการ อย่างทั่วถึง อย่างน้อยปีละครั้ง • องค์การต้องนำความคิดเห็นและคำแนะนำที่สภาผู้ชมและผู้ฟังรายการได้รับ มาใช้ในการพัฒนาบริการและการผลิตรายการ

  21. การตรวจสอบ การประเมินผล ตรวจสอบโดย สตง. หรือผู้ตรวจสอบที่ สตง เห็นชอบ แล้วรายงานต่อคณะรัฐมนตรี ดำเนินการโดยผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระ • วัดจำนวนผู้ชมรายการ • สำรวจความพึงพอใจผู้ชมรายการ • วัดเงินสนับสนุนองค์การ-เงินบริจาค

  22. รายงานประจำปี เสนอต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา • ผลงานในปีที่ผ่านมาเทียบกับเป้าหมาย • โครงการ แผนงานและแผนงบประมาณของปีต่อไป • ผังรายการที่จะเปลี่ยนแปลง • รายรับและรายจ่ายในปีที่ผ่านมา • การให้การสนับสนุนการผลิตแก่ผู้ผลิตรายการ • ความคิดเห็นที่ได้รับจากสภาผู้ชมและผู้ฟังรายการและประชาชนทั่วไป และการปรับปรุงที่ดำเนินการ • เรื่องร้องเรียนจากผู้ชมและผู้ฟังรายการ

  23. ความเข้าใจผิดต่อทีวีสาธารณะความเข้าใจผิดต่อทีวีสาธารณะ • ทีวีสาธารณะเป็นของล้าสมัย • ทีวีสาธารณะต้องมีแต่ข่าวและสาระ • รายการทีวีสาธารณะน่าเบื่อ • ทีวีสาธารณะเป็นทีวีของคนกลุ่มน้อย • รายการทีวีสาธารณะผลิตโดยเอ็นจีโอ • ทีวีสาธารณะผลาญงบประมาณของรัฐ • ทีวีสาธารณะไม่ต้องแข่งขัน

  24. เส้นทางต่อไป • ออกกฎหมาย “องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะ” • ดำเนินการแปลงสภาพTITV เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสาธารณะ • จัดทำผังรายการตัวอย่าง • จัดทำข้อกำหนดจริยธรรม • เผยแพร่รายการตัวอย่าง • ฯลฯ

More Related