1 / 211

จากแนวคิด...ต้องทำวิกฤตให้เป็นโอกาส

ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา และร่วมบูรณาการ เพื่อพัฒนาเมืองทุ่งสงอย่างยั่งยืน. จากแนวคิด...ต้องทำวิกฤตให้เป็นโอกาส. พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 13 กรกฎาคม 253 3.

donnan
Download Presentation

จากแนวคิด...ต้องทำวิกฤตให้เป็นโอกาส

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา และร่วมบูรณาการ เพื่อพัฒนาเมืองทุ่งสงอย่างยั่งยืน จากแนวคิด...ต้องทำวิกฤตให้เป็นโอกาส

  2. พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 13 กรกฎาคม 2533 “ปัญหาทุกอย่าง มีทางแก้ ถ้าแก้คนเดียวไม่ได้ ก็ช่วยกันคิด ช่วยกันแก้หลายคน หลายทาง ด้วยความร่วมมือ ปรองดองกัน ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้น จักไม่กลายเป็นอุปสรรคขัดขวางและบ่อนทำลายความเจริญและความสำเร็จ” ทุกภาคส่วนในอำเภอทุ่งสง น้อมนำพระราชดำรัสและพระบรมราโชวาทใส่เกล้าฯ ปฏิบัติตามเมื่อได้ผลดีในเรื่องหนึ่งก็ดำเนินการเรื่องนั้นอย่างต่อเนื่องและขยายผลไปใช้ดำเนินงานในเรื่องอื่นๆ ต่อยอดความสำเร็จต่อเนื่องกันไป ทั้งนี้ โดยการบูรณาการความคิด “ความคาดหวัง “ของทุกภาคส่วนให้เป็นหนึ่งเดียว เพื่อขับเคลื่อนงานพัฒนาท้องถิ่น จังหวัด และประเทศ

  3. สภาพทั่วไปของพื้นที่ (1) เทศบาลเมืองทุ่งสง มีเนื้อที่ 7.17 ตารางกิโลเมตร (2) คลองสายหลักที่ไหลผ่านพื้นที่ 4 สาย ได้แก่ • คลองท่าเลา • คลองท่าโหลน • คลองตม • คลองท่าแพ

  4. ความเป็นมา จากสภาพภูมิประเทศของเมืองทุ่งสง มีลักษณะเป็นแอ่งกระทะ มีภูเขาล้อมรอบ เป็นแหล่งต้นน้ำ มีลำคลอง 4 สายไหลผ่านเมือง ไปรวมกันในลักษณะคอขวด ทำให้เมืองทุ่งสงประสบกับปัญหาอุทกภัยอย่างต่อเนื่อง เกือบทุกปี และมีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงขึ้นเป็นลำดับ ในปี2548 และ 2549 เมืองทุ่งสงประสบปัญหาอุทกภัยติดต่อกันถึง 2 ครั้ง ในเวลา 2 เดือน ส่งผลกระทบต่อชีวิตสร้างความเสียหายแก่ทรัพย์สิน สร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน “โดยเฉพาะในเขตเทศบาลเมืองทุ่งสง ได้รับความเสียหายไม่น้อยกว่า 250 ล้านบาท (ข้อมูลจากชมรมธนาคารอำเภอทุ่งสง)”

  5. โครงการศึกษาความเหมาะสมการแก้ไขปัญหาอุทกภัยอำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มูลค่าความเสียหายจากอุทกภัย

  6. 15 ธันวาคม 2548เกิดเวลากลางวัน

  7. 14 กุมภาพันธ์ 2549เกิดเวลากลางคืน

  8. น้ำท่วมทุ่งสง 1-2 พฤศจิกายน 2553 และ 29-30 มีนาคม 54 มีนาคม 2554

  9. น้ำท่วมทุ่งสง 1-2 พฤศจิกายน 2553 และ 29-30 มีนาคม 54 มีนาคม 2554

  10. เหตุการณ์อุทกภัยปีล่าสุดเหตุการณ์อุทกภัยปีล่าสุด (วันที่ 27-31 มีนาคม 2554) สภาพน้ำในคลองท่าแพ (คลองเปิก) บริเวณชุมชนท่าแพใต้ สภาพน้ำท่วมบริเวณชุมชน ริมถนนชนปรีดา สภาพน้ำท่วมบริเวณชุมชนทุ่งสง-ห้วยยอด สภาพน้ำท่วมบริเวณชุมชนทุ่งสง-นาบอน ซอย 1

  11. หลังน้ำท่วม เกิดความเสียหายมากมาย โคลนทรายจำนวนมากมากับน้ำ

  12. ถนนหนทางเสียหาย

  13. ความเสียหายจากเหตุการณ์ความเสียหายจากเหตุการณ์ น้ำท่วมและได้รับการฟื้นฟูจากเครือข่ายฯ ตชด42เรือนจำอำเภอทุ่งสงจังหวัดทหารบก ค่ายเทพสตรีศรีสุนทรอย่างรวดเร็วทันที

  14. เปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาสเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส • .....จุดประกาย การมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ สร้างเครือข่าย • การทำงาน เพื่อพัฒนาทุ่งสงให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน

  15. ร่วมมือกันเพื่อแก้ปัญหาร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืนใช้การบูรณาการเป็นหัวใจ ใช้ยุทธศาสตร์เป็นตัวเชื่อมสู่การพัฒนาเมืองทุ่งสง

  16. กลไกการบริหารงานของอำเภอทุ่งสงจำเป็นต้องบริหาร แนวทางการปฏิบัติราชการแบบบูรณาการผ่าน...เครือข่ายทุกภาคส่วน

  17. ถักทอความร่วมมือ...สู่การพัฒนาเมืองทุ่งสงให้น่าอยู่อย่างยั่งยืนถักทอความร่วมมือ...สู่การพัฒนาเมืองทุ่งสงให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน ทุกภาคส่วนแก้ปัญหาเพียงลำพังไม่ได้ ต้องช่วยกันคิด ช่วยกันแก้ รวมพลังร่วมเป็นหนึ่งสร้างการทำงานแบบบูรณาการทำให้เมืองทุ่งสง มีความน่าอยู่อย่างยั่งยืนสืบไป ร่วมคิดร่วมทำร่วมแก้ปัญหาและร่วมบูรณาการ

  18. กระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการกระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ

  19. 1) การรับรู้ เรียนรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาร่วมกัน อปท./ภูมิภาค/ส่วนกลาง/ประชาสังคม/ สถาบันวิชาการ ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องรับรู้และตระหนักถึงปัญหา ร่วมปรึกษาหารือ ประชุม ระดมความเห็น

  20. จากการพบปะหารือดังกล่าวทำให้เกิดการการเรียนรู้ปัญหาและสาเหตุเบื้องต้นในเรื่องน้ำท่วมร่วมกัน สรุปได้ดังนี้

  21. 1.ปัญหาด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการน้ำ1.ปัญหาด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการน้ำ สภาพปัญหาด้านอุทกภัยและบริหารจัดการน้ำในบริเวณพื้นที่อำเภอทุ่งสง • ขาดแคลนแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรในช่วงฤดูแล้งและฝนทิ้งช่วง • แหล่งน้ำตื้นเขิน • ขาดประสิทธิภาพของระบบส่งน้ำและระบบกระจายน้ำ • ขาดการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบลุ่มน้ำ 2.ปัญหาด้านการขาดแคลนน้ำ • ขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค-บริโภค • ขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร 3.ปัญหาด้านน้ำท่วม • พื้นที่สองฝั่งลำน้ำคลองท่าเลาทางท้ายน้ำ • เทศบาลเมืองทุ่งสงเป็นพื้นที่ที่ประสบปัญหาอุทกภัยเป็นประจำ

  22. เส้นทางการระบายน้ำในเขตเทศบาลเมืองทุ่งสงเส้นทางการระบายน้ำในเขตเทศบาลเมืองทุ่งสง คลองท่าเลา คลองตม คลองท่าโหลน คลองเปิก(คลองท่าแพ) คลองตม คลองหมู่บ้านพัฒนา คลองท่าเลา 1 คลองท่าโหลน คลองท่าเลา คลองเปิก คลองท่าเลา คลองท่าโหลน

  23. พื้นที่น้ำท่วมในเขตพื้นที่เมืองทุ่งสงพื้นที่น้ำท่วมในเขตพื้นที่เมืองทุ่งสง เขตผังเมืองรวมทุ่งสง พื้นที่น้ำท่วม

  24. แนวคิดการแก้ไขปัญหาอุทกภัยและการบริหารจัดการน้ำแนวคิดการแก้ไขปัญหาอุทกภัยและการบริหารจัดการน้ำ 1. พื้นที่ลุ่มน้ำสาขาตอนบนเหนือเขตเทศบาล - ศึกษาศักยภาพแหล่งเก็บกักน้ำในพื้นที่ตอนบน - หาพื้นที่ทำแก้มลิงชะลอน้ำเพิ่มเติม 2. การระบายน้ำในเขตชุมชนเมืองหรือในเทศบาลเมืองทุ่งสง - การเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำของลำน้ำต่างๆ - การก่อสร้างอาคารบังคับน้ำเพื่อควบคุมปริมาณน้ำหลากที่เข้าเขตเมือง - การผันน้ำเลี่ยงเมือง 3. การระบายน้ำในพื้นที่ตอนล่างหรือท้ายน้ำจากเขตชุมชน - ปรับปรุงลำน้ำให้สามารถรองรับปริมาณน้ำที่ผันมา - ปรับปรุงอาคารบังคับน้ำปัจจุบันให้มีประสิทธิภาพการระบายน้ำเพิ่มขึ้น 4. การวางระบบเฝ้าระวังเตือนภัยล่วงหน้าพื้นที่เขตชุมชนเมือง และกำหนด มาตรการในการอพยพราษฏรไปยังพื้นที่ปลอดภัย - ปรับปรุงระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยที่เทศบาลเมืองทุ่งสงที่ดำเนินการ อยู่ในปัจจุบันให้มีประสิทธิภาพและแม่นยำมากขึ้น

  25. 2) การก่อรูปเครือข่ายการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ 2.1 ใช้การประชุมระหว่างภาคีต่าง ๆ …การประชุมปรึกษาหารือ แก้ปัญหาอุทกภัย ทุกภาคีของเมือง ทั้งหน่วยงานราชการ ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ นักวิชาการ โรงเรียน สถานศึกษา ภาคประชาชน และภาคีอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมชลทาน กรมโยธาธิการและผังเมือง ฯลฯ จึงได้ร่วมกันประชุม ปรึกษาหารือกัน ประชุมครั้งแรกในวันที่ 2 มี.ค.49 มีนายอำเภอทุ่งสง (นายสุรินทร์ เพชรสังข์) เป็นประธาน การหารือเริ่มจากหาสาเหตุของน้ำท่วม และหาทางการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหา น้ำท่วม การประชุมในช่วงแรกของปี 2549 ได้ร่วมหารือกันจำนวน 6 ครั้ง

  26. 2) การก่อรูปเครือข่ายการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ ระดมความคิด กำหนดทิศทาง ของเครือข่าย กำหนดแนวทางแก้ปัญหา กำหนดผู้รับผิดชอบ เพื่อขับเคลื่อนโครงการสู่การปฏิบัติ เรียนรู้ และระดมความคิดเห็นในการขับเคลื่อนโครงการหรือกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น

  27. 2) การก่อรูปเครือข่ายการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ 2.2 การแต่งตั้งคณะทำงาน ตั้งคณะทำงานอำนวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมแบบบูรณาการ มีนายอำเภอทุ่งสง เป็นประธานคณะกรรมการ ฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อประสานงานในการดำเนินงานของเครือข่ายทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรมในการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งนับว่ามีความสำคัญ และจำเป็น ต่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จ โดยอำเภอทุ่งสงได้แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานแก้ปัญหาน้ำท่วม เป็น 2 คณะคือ 1. ด้านกายภาพ มีที่ดินจังหวัดนครศรีธรรมราช สาขาทุ่งสง เป็นประธานคณะทำงาน 2. ด้านสังคมกฎหมาย ระบบแผนพัฒนาและผังเมืองมีผู้กำกับการกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 42 เป็นประธานคณะทำงาน

  28. 3) การกำหนดเป็นวาระท้องถิ่น

  29. รูปแบบวิธีการดำเนินงานรูปแบบวิธีการดำเนินงาน รวมเป็นหนึ่ง เพื่อให้การดำเนินการพัฒนาเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ เป็นไปอย่างมีระบบ จึงได้นำวาระท้องถิ่นเรื่องการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม, การจราจร, การจัดการขยะ ฯลฯ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของการประชุมประชาคมเมืองทุ่งสงครั้งที่ 2/2550 ในวันที่14-15 พฤษภาคม 2550 และร่วมกัน “จัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ” ขึ้น ทำให้ทุกภาคส่วนได้เห็นสถานการณ์ของเมืองทุ่งสง แต่ละประเด็น ชัดเจนมากขึ้น แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อยคือ กลุ่มที่ 1ภาวะมลพิษจุดมุ่งหมายการพัฒนา : มุ่งสู่การจัดการมลพิษในเมืองทุ่งสงอย่างยั่งยืน กลุ่มที่ 2การจราจรจุดมุ่งหมายการพัฒนา : การจราจรในเขตเทศบาลและพื้นที่ใกล้เคียงใน อำเภอทุ่งสงมีระเบียบและผู้ใช้ถนนมีความปลอดภัย กลุ่มที่ 3น้ำท่วม/ผังเมืองจุดมุ่งหมายการพัฒนา : ลดผลกระทบและความเสียหายจากน้ำท่วมโดย บูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนอย่างมีคุณภาพ กลุ่มที่ 4ทรัพยากรธรรมชาติจุดมุ่งหมายการพัฒนา : สร้างจิตสำนึกแก่ชุมชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์ และใช้ทรัพยากร ดิน น้ำ ป่าไม้ ให้อุดมสมบูรณ์ เอื้อต่อวิถีชีวิตโดยชุมชนมีส่วนร่วม

  30. 4) การขับเคลื่อนโครงการหรือกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การขุดลอกลำคลอง เหมือง ที่มีต้นไม้หรือวัชพืชขึ้นปกคลุม คูระบายน้ำ ล้างไม่ให้อุดตัน ขุดขยายคลองส่วนที่คับแคบ ขุดลอกตะกอนทรายหน้าฝายไปบางส่วน โดยได้รับความร่วมมือด้วยดีจากท้องถิ่น ทั้งอบจ. อบต. เทศบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดสรรทั้งงบประมาณและสนับสนุนเครื่องจักรกล

  31. 5) การจัดทำแผนยุทธศาสตร์เมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ ร่วมคิด “ร่วมมือ...ร่วมใจ....จัดทำแผนยุทธศาสตร์”

  32. จัดการประชุม สัมมนาความคิดเห็นเชิงปฏิบัติการ แก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ กำหนดแนวทางแก้ปัญหา กำหนดผู้รับผิดชอบ. เพื่อขับเคลื่อนโครงการสู่การปฏิบัติ ร่วมระดมสมองแก้ไขพัฒนาเมือง จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ

  33. 6) การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น “รวมกันเป็นหนึ่ง”

  34. เทศบาลเมืองทุ่งสง ประสานงาน สนับสนุนการเรียนรู้ รวมเป็นหนึ่ง สู่วาระท้องถิ่นลงนาม MOU 2 ครั้งเน้น…ร่วมพัฒนาเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ พิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงระหว่าง 13 อปท.ของเมืองทุ่งสง ในวันที่ 13สิงหาคม 2550 พิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงระหว่าง 13 อปท.ของเมืองทุ่งสง ในวันที่ 16-17 กุมภาพันธ์ 2552

  35. 17 กุมภาพันธ์ 2552

  36. 7) การสื่อสารภายในเครือข่ายทุกภาคส่วนอย่างสม่ำเสมอและร่วมขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรมแก้ไขปัญหาน้ำท่วมเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการทั้งด้านกายภาพ และสังคมอย่างต่อเนื่อง

  37. 8)การติดตามผลการดำเนินงาน8)การติดตามผลการดำเนินงาน คณะกรรมการอำนวยการป้องกันภัยและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสง ติดตามการดำเนินงานของเครือข่าย...โดยใช้การประชุมเป็นเครื่องมือ ในการติดตามผลการดำเนินงาน

  38. ผลผลิต/ผลลัพธ์การดำเนินงานผลผลิต/ผลลัพธ์การดำเนินงาน การแก้ปัญหาน้ำท่วม ด้านกายภาพ

  39. โครงการที่ดำเนินการแล้วโครงการที่ดำเนินการแล้ว ด้านกายภาพ

  40. เพื่อดำเนินการและตัดสินใจหาแนวทางแก้ปัญหาด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการปรับปรุงระบบระบายน้ำ ด้านการพิจารณาพื้นที่และจัดหาพื้นที่แก้มลิงและลุ่มน้ำเทียม ด้านการจัดการขยะและน้ำเสีย และด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินและผังเมืองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการ

  41. ร่วมกับเรือนจำอำเภอทุ่งสงปรับปรุงภูมิทัศน์และบำรุงรักษาระบายน้ำ ลำคลอง และ ลำเหมืองสาธารณะต่างๆ การขุดลอกคูคลอง ในเขตเเมืองทุ่งสงทุกปี

  42. สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในระยะสั้น ได้แก่การขุดลอกลำคลอง เหมือง ที่มีต้นไม้หรือวัชพืชขึ้นปกคลุม คูระบายน้ำ ล้างไม่ให้อุดตัน ขุดขยายคลองส่วนที่คับแคบ ขุดลอกตะกอนทรายหน้าฝายไปบางส่วน โดยได้รับความร่วมมือด้วยดีจากท้องถิ่นทั้งอบจ. อบต. เทศบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดสรรทั้งงบประมาณและสนับสนุนเครื่องจักรกล

  43. นวัตกรรมใหม่ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นตามพระราชดำริของพ่อหลวงไทย...ปลูกหญ้าแฝกป้องกันการพังทลายของหน้าดิน ณ ริมคลองท่าเลาโดยร่วมกับเรือนจำอำเภอทุ่งสง

  44. นำร่องทดลองสร้างนวัตกรรมใหม่ ในการทำพนังกั้นดินด้วยไม้ไผ่บริเวณริมคลองท่าเลาหน้าห้องสมุด ป้องกันตลิ่งพัง โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลปรากฏว่าในช่วงน้ำท่วมหนักในปี 2553 และ 2554 หญ้าแฝกได้ช่วยป้องกันตลิ่งพังได้ ขณะนี้ขยายผลบริเวณ ริมคลองท่าเลาหน้างานป้องกันเพิ่มขึ้น รวมถึงคลองต่าง ๆ ด้วย บูรณาการความร่วมมือกับเรือนจำอำเภอทุ่งสงช่วยดำเนินการในปี 2553 ก่อนน้ำท่วมเดือนพฤศจิกายน

  45. ก่อสร้างฝายชะลอน้ำ (CHECKDAM) เทศบาลเมืองทุ่งสง ร่วมกับเรือนจำอำเภอทุ่งสง กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดน ที่ 42 และกองบัญชาการช่วยรบพิเศษค่ายเทพสตรีศรีสุนทร ได้ดำเนินการก่อสร้างฝายชะลอน้ำ (CHECKDAM) ในลำคลองสายหลัก 3 สาย คือ คลองท่าเลา คลองท่าโหลน และคลองท่าแพ ระหว่างเดือนมีนาคม – เมษายน 2553

  46. โครงการก่อสร้างฝายชะลอน้ำ เทศบาลเมืองทุ่งสง ร่วมกับเรือนจำอำเภอทุ่งสง กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดน ที่ 42 ค่ายเทพสตรี ศรีสุนทร ในการดำเนินการแบบบูรณาการ สร้างฝายชะลอน้ำในคลองต่าง ๆ ในเขตเทศบาล

  47. โครงการก่อสร้างฝายชะลอน้ำโครงการก่อสร้างฝายชะลอน้ำ

More Related