1 / 29

ทิศทางการพัฒนา

ทิศทางการพัฒนา. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11. สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 4 กรกฎาคม 2555. สรุปทิศทางแผนฯ ๑๑. ความเสี่ยงที่ประเทศไทย ต้องเผชิญ.

doris
Download Presentation

ทิศทางการพัฒนา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการพัฒนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 4กรกฎาคม 2555

  2. สรุปทิศทางแผนฯ ๑๑ ความเสี่ยงที่ประเทศไทยต้องเผชิญ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” ๖ ยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงสร้างทางเศรษฐกิจไม่สามารถรองรับการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน การบริหารภาครัฐอ่อนแอ ๑ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ๒ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน โครงสร้างประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น วัยเด็ก วัยแรงงานลดลง พันธกิจ มีความเสี่ยงด้านความมั่นคง ๖ ความเสี่ยง • สร้างสังคมเป็นธรรม ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิต ได้รับการคุ้มครองทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ทุกภาคส่วนได้รับการเสริมพลังให้สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข • พัฒนาคนไทยให้มีคุณธรรม เรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะและการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย สามารถปรับตัวให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง • พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีเสถียรภาพบนฐานความรู้และการสร้างสรรค์ของคนไทย สร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน พร้อมทั้งปรับโครงสร้างการผลิตและการบริโภคให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๓ ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ๔ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพ ฐานทรัพยากรธรรมชาติสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมรุนแรง ค่านิยมดีงามของไทยเสื่อมถอย ๕ ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาคและภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้าง ๖ ภูมิคุ้มกันให้ประเทศพร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลง ๖ ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ๖ ภูมิคุ้มกัน เป้าหมาย ตัวชี้วัดความสำเร็จ  ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ภาคเกษตรเป็นฐานรายได้หลักและความมั่นคงด้านอาหารของประเทศ  การพัฒนาประเทศให้อยู่บนฐานความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย  สังคมไทยมีค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม  ชุมชนเป็นกลไกที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเชื่อมโยงกันเป็นสังคมสวัสดิการ  ประเทศไทยมีความเป็นเอกราช เป็นกลาง และเป็นพันธมิตรในเวทีระหว่างประเทศ • ความอยู่เย็นเป็นสุขของคนในสังคมและความสงบสุขของสังคมไทยเพิ่มขึ้น ลดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ การประกอบอาชีพ การเข้าถึงแหล่งทรัพยากร และกระบวนการยุติธรรม ลดความขัดแย้งระหว่างภาครัฐกับประชาชน ภาพลักษณ์การทุจริตคอรัปชั่นดีขึ้น • คนไทยมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีสุขภาวะที่ดีขึ้น และสถาบันทางสังคมมีความเข้มแข้งมากขึ้น • เศรษฐกิจเติบโตเฉลี่ยร้อยละ ๕ ต่อปี อัตราเงินเฟ้ออยู่ในกรอบเป้าหมาย ผลิตภาพการผลิตรวมสูงขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๓ ต่อปี เพิ่มขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจ รักษาปริมาณการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้พอเพียงต่อความต้องการของผู้บริโภค และลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • คุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อมูลค่าการผลิตในประเทศ สร้างระบบเตือนภัยรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งเพิ่มพื้นที่ป่าไม้เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ • ดัชนีความอยู่เย็นเป็นสุข ดัชนีความสงบสุข สัดส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีรายได้สูงสุดร้อยละ ๑๐ กับกลุ่มที่มีรายได้น้อยร้อยละ ๑๐ สัดส่วนแรงงานนอกระบบที่สามารถเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคม การถือครองที่ดินของกลุ่มคนต่างๆ คดีความขัดแย้งกับเจ้าหน้าที่รัฐต่อ ๑๐,๐๐๐ ครัวเรือน คดีในศาลปกครองต่อ ๑๐,๐๐๐ ครัวเรือน และดัชนีภาพลักษณ์การทุจริตประพฤติมิชอบ • จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทย สัดส่วนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ จำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา อัตราเพิ่มผลิตภาพแรงงาน อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ และดัชนีความอบอุ่นของครอบครัว • อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อ ผลิตภาพการผลิตรวม อันดับความสามารถในการประกอบธุรกิจ ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ • ร้อยละของพื้นที่ป่าไม้ต่อพื้นที่ประเทศ ร้อยละขององค์กรชุมชนที่ดำเนินงานด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่อองค์กรชุมชนทั้งหมด www.nesdb.go.th

  3. กรอบการนำเสนอสาระสำคัญกรอบการนำเสนอสาระสำคัญ สถานการณ์การพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนฯ 10 ทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนฯ 11

  4. ลักษณะทางกายภาพ • พื้นที่ • พื้นที่ 105.5 ล้านไร่ เป็น 1 ใน 3 ของประเทศ เป็นที่ราบลอนคลื่น • มีพื้นที่เกษตร 58.0 ล้านไร่ • สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย • 75.7%เป็นดินขาดอินทรีย์วัตถุ • พื้นที่ป่า • พื้นที่ป่าไม้ ประมาณ 17.3 ล้านไร่ (ร้อยละ 16.4 ของภาค) อยู่บริเวณชายขอบของภาค • ลุ่มน้ำ • มีลุ่มน้ำหลัก 3 ลุ่มน้ำ : โขง ชี มูล • คมนาคม • ถนนมิตรภาพเป็นเส้นทางหลักเชื่อม กรุงเทพ มีทางรถไฟ 2 สายหลัก คือ กทม.-อุบล และ กทม.-หนองคาย สนามบิน 9 แห่ง

  5. สถานการณ์ด้าน เศรษฐกิจ • GRP 4.5 แสนล้านบาท (เพิ่มจากปี 49 จำนวน 0.5 แสนล้านบาท (9.8 %GDP) • ขยายตัวลดลง (ปี 50-53) 3.1% ต่อปี (ช่วงปี45-49) 5% ต่อปี (ประเทศ 3.3%ต่อปี) • กลุ่มที่ขยายตัวสูงสุด (50-53) คือกลุ่มอีสานตอนบน 1 ร้อยละ 4.3% • โครงสร้างการผลิตปรับตัวไปสู่นอกภาคเกษตรมากขึ้น (ปี 2553 เทียบกับ 2549) • เกษตร 18.4 % (19.1%) • การค้า 21.5% (21.0%) • อุตสาหกรรม 17.9% (18.4%) • Per capita GRP 49,092 บาท • ปี 53 จำนวน 49,092บาท ต่ำกว่าประเทศ 3.0 เท่า) • ฐานเศรษฐกิจหลัก • ขอนแก่น 16.3 % • นครราชสีมา 15.4% • อุบลราชธานี 7.7% • อุดรธานี 7.2%

  6. เศรษฐกิจ ภาคเกษตร ข้าวโพด ยาง ไม้ผล อ้อย ข้าว มัน ยางปศุสัตว์ แหล่งผลิตหลัก > 40% ข้าว อีสานล่างและกลาง มัน โคราช ชัยภูมิ บุรีรัมย์ อ้อย ขอนแก่น อุดร กาฬสินธุ์ ยางพารา หนองคาย เลย อุดร ข้าวโพด โคราช ชัยภูมิ เลย • มูลค่า 2.5 แสนล้านบาท(1.6 แสนล้านบาทเมื่อปี 49) • = 20 % (18.6% เมื่อปี 49) ของประเทศ • ขยายตัวสูงกว่าประเทศ(50-53) 2.1% (45-49) 1.4%ต่อปี (ประเทศ 1.1ต่อปี%) • ผลิตภาพการผลิตต่ำกว่าประเทศ (ปี 52 ต่ำกว่าประเทศ 2.1 เท่า) • แนวโน้ม: • พืชพลังงาน และยาง จะเข้ามาแทนที่พืชอาหาร • คนในภาคเกษตรลดลง ใช้เครื่องจักรมากขึ้น • ฐานการผลิตหลักอยู่ในกลุ่มอิสานตอนล่าง 1 ร้อยละ 34.5 ของภาค

  7. เศรษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรม • มูลค่า 1.8 แสนล้าน (1.2 แสนล้านบาท) = 5.1 % (4.4%) ของประเทศ • ขยายตัว (50-53) 1.7% ต่อปี (ประเทศ 4.5%) • อุตฯ อาหารและเครื่องดื่ม 70.9% (61.2%) เครื่องแต่งกาย 8.4% (7.5%) สิ่งทอ 4.5% อิเล็กทรอนิกส์ 3.4% • แนวโน้ม • เอทานอล 39.0% ของประเทศ (3.03 ล้านลิตร/วัน) • สัดส่วนอุตฯ อาหารมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ยังกระจุกตัวแนวถนนมิตรภาพ(นม-ขก-อด) อาหารเครื่องดื่ม เครื่องแต่งกาย อิเล็กทรอนิกส์ เอทานอล

  8. เศรษฐกิจ การค้าชายแดน เวียงจันทร์ ไซยะบุรี ท่าแขก-วินด์(เวียดนาม) • การค้าชายแดน • มูลค่า 1.02 แสนล้านบาท ร้อยละ 48ของการค้าของภาค (ส่งออก 8 หมื่น ลบ.นำเข้า 2 หมื่น ลบ) • การค้า 80% มาจากด่านหนองคาย และมุกดาหาร • สินค้าออก 60% มาจากนอกภาค(น้ำมัน %วัสดุก่อสร้าง เครื่องไฟฟ้า ยานยนต์ ของอุปโภค) • สินค้าเข้า ไม้แปรรูป 10.0% อื่นๆ 90% • อัตราเติบโตลดลง สะหวันนะเขต-ดานัง(เวียดนาม) แม่สอด EWEC ปากเซ อะลองเวง โอเสม็ด

  9. เศรษฐกิจ ภาคการท่องเที่ยว ประเภทและแหล่งท่องเที่ยว เชื่อมเพื่อนบ้าน เชิงนิเวศ ก่อนประวัติศาสตร์ อารยธรรมขอม • สร้างรายได้ 2.7 หมื่นล้านบาท (ปี 49 ~ 3.3 หมื่นล้านบาท) • นักท่องเที่ยวลดลง 9% • (ปี 50 ~ 13.34 ล้านคน ปี 52 ~ 12.19 ล้านคน) • ข้อจำกัดด้านท่องเที่ยว • แหล่งท่องเที่ยวแม่เหล็กมีน้อย อยู่ห่างไกลกัน • ขาดความน่าสนใจ(ไม่สร้าง Story) • ขาดบริการพื้นฐานอำนวยความสะดวก

  10. ประชากร สถานการณ์ด้าน สังคม • ปี 2563 มีประชากร 22.7 ล้านคน • (เด็ก 21% แรงงาน 62% ผู้สูงอายุ 17%) • (ปี 2549 เด็ก 21.9% แรงงาน 68.1% ผู้สูงอายุ10.0%) • อันตราการเกิด ลดลง เหลือเพียง 1.05 • อัตราพึ่งพิงเพิ่มขึ้นจาก 45.8 % ในปี 53 เป็น 61 % ในปี 63 โครงสร้างประชากร ปี 2549 ปี 2563

  11. สังคม การมีงานทำ • แรงงานส่วนใหญ่จบประถมและต่ำกว่า 56.8.% มัธยม 29.4% อาชีวะ 2.3%(ม.ค-มี.ค 2555) • ปี 2555 สัดส่วนแรงงานจะเริ่มลดลง • (เหลือ 64.0% เด็ก 23.2% ผู้สูงอายุ 12.8% ) • การจ้างงาน 12.4 ล้านคน ( ว่างงาน 1.56% ) • การอพยพปีละ 4.3 % (~ 9.2 แสนคน) • แรงงานนอกระบบ 78.6%(เพิ่มขึ้นจาก 77.9% ในปี 49) หมายเหตุ * ประกอบด้วย โรงแรม ศึกษา สาธารณสุข บริการชุมชน ลูกจ้างครัวเรือน

  12. สังคม การศึกษา/สาธารณสุข • การศึกษา • ประชากรมีระดับการศึกษาสูงขึ้น • ในปี 2553 มีการศึกษาเฉลี่ย 9.0 ปี โดยมีจังหวัดมหาสารคามสูงสุดในภาค 9.9 ปี (ประเทศ 9.0 ปี) • คุณภาพการศึกษายังมีปัญหา • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับมัธยม 5 วิชาหลัก • (O-net) มีคะแนนต่ำกว่าเกณฑ์ร้อยละ 50 ทุกวิชา โดยเฉพาะวิชา ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยต่ำสุด • สาธารณสุข • การบริการสาธารณสุขดีขึ้น • สัดส่วนแพทย์ต่อประชากรลดลงจาก 1 : 5,308คน ปี 2550เป็น 1 :4,947 คน ในปี 2553 • อัตราการตายทารกในปี 2553 เพิ่มขึ้นจาก 6.8 เป็น 6.9 ต่อ ปชก.พันคน • อัตราการตายมารดาในปี 2553 เพิ่มขึ้นจาก 10.1 เป็น 11.1 ต่อ ปชก.แสนคน • ภาวะการเจ็บป่วย • คนป่วยเป็นโรคที่เกิดจากภาวะโภชนาการ และการบริโภคอาหารของคนในภาคมากขึ้น • โรคเบาหวานและความดัน มีอัตราผู้ป่วยสูงขึ้น 1,001.36 และ 1,032.93 ต่อ ปชก.แสนคน (ตามลำดับ) • ปัญหาสุขภาพจิตพบสูงขึ้น มีอัตราป่วย 2,386.25 ต่อ ปชก.แสนคน

  13. สังคม คุณภาพชีวิต • ความปลอดภัยในชีวิตเพิ่มขึ้น แต่ความปลอดภัยในทรัพย์สินลดลง • คดียาเสพติดเพิ่มขึ้น (ปี 49 = 1.1 หมื่นราย ปี 53 = 4.4 หมื่นราย)โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดติดชายแดน (มุกดาหาร อำนาจเจริญ และนครพนม) • ความยากจนยังเป็นปัญหาสำคัญของภาค • สัดส่วนคนจน ปี 53 (13.31%)ลดลงจากปี 49 (16.77%) 3.46%มากกว่าสัดส่วนเฉลี่ยของประเทศ (7.7%) จังหวัดที่มีสัดส่วนคนจนสูง ได้แก่ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ กาฬสินธุ์ • ภาวะหนี้สินครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นหนี้สินต่อครัวเรือนเพิ่มจาก 1.02 แสนบาท เป็น 1.18 แสนบาท

  14. สถานการณ์ด้าน ทรัพยากรฯ สิ่งแวดล้อม • ดิน • มีปัญหาดินขาดอินทรีย์วัตถุ ร้อยละ 71.5 ของพื้นที่ภาค • เป็นพื้นที่ดินเค็ม 19.5 ของพื้นที่เกษตร (57.9 ล้านไร่) • น้ำ • 3 ลุ่มน้ำหลัก มีปริมาณน้ำท่า 61,513 ล้าน ลบ.ม. โดย 12 เขื่อนใหญ่มีแนวโน้มกักเก็บน้ำได้น้อยลง เฉลี่ย 2550-2553 กักเก็บได้ 79 % ของระดับกักเก็บ หรือร้อยละ 12.4 ของปริมาณน้ำท่า • ป่าไม้ • ปี 52 มีพื้นที่ป่าไม้น้อยที่สุดในประเทศ 17.3 ล้านไร่ (16.1% ของป่าทั้งประเทศ)

  15. กรอบการนำเสนอสาระสำคัญกรอบการนำเสนอสาระสำคัญ สถานการณ์การพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนฯ 10 ทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงแผนฯ 11

  16. บทบาทและทิศทางการพัฒนาภาคบทบาทและทิศทางการพัฒนาภาค หนองคาย เลย นครพนม อุดรธานี สกลนคร หนองบัวลำภู แหล่งท่องเที่ยวยุคก่อนประวัติศาสตร์ ขอนแก่น มุกดาหาร กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ ยโสธร ชัยภูมิ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ • เป็นฐานผลิตพืชอาหารและ พืชพลังงานทดแทนของประเทศ(อีสานกลาง /ล่าง )เพื่อความมั่นคงด้านอาหารและรายได้เกษตรกร • เป็นฐานอุตฯ แปรรูปอาหารและเอธานอลของประเทศ (กลุ่ม นม. ขก. อด.) เพื่อรักษาฐานรายได้เดิมและสร้างฐานใหม่ให้กับภาค • เป็นประตูการค้า การท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับอินโดจีน (กลุ่มหนองคาย/มุก/และอุบล) • เป็นแหล่งท่องเที่ยวและศึกษาทางโบราณคดี ยุคก่อนประวัติศาสตร์และอารยธรรมขอม(อีสานล่าง/กลาง) เนื่องจากเป็นเอกลักษณ์ และมีเฉพาะอีสาน ไม้ผล ยางพารา พืชผัก เมล็ดพันธุ์ อุตสาหกรรมหลักของภาค พื้นที่อนุรักษ์/แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ปศุสัตว์/ยางพารา/ไม้ยืนต้น

  17. บทบาทการเชื่อมโยงเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านและอาเซียนบทบาทการเชื่อมโยงเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านและอาเซียน • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ภาคเหนือ • ภาคใต้ • ภาคกลาง • พัฒนาเชื่อมโยงสู่กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนบน (GMS) และกลุ่มเอเชียใต้ โดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจตามแนวเหนือ-ใต้ และแนวตะวันออก-ตะวันตก รวมทั้งเชื่อมโยงสู่เมียนม่าร์และเอเชียใต้ผ่านทางพรมแดนตะวันตกของภาคเหนือ (WEST GATE) • ใช้ประโยชน์จากความตกลงต่างๆ ในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยพัฒนาเป็นประตูการค้า การท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับกลุ่มอนุภาคลุ่มน้ำโขง และเอเชียตะวันออก • เป็นประตูการค้า และการขนส่งเชื่อมโยงภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ระบบโลจิสติกส์ มาตรฐานการให้บริการและอำนวยความสะดวกบริเวณเขตเศรษฐกิจชายแดน • พัฒนาโดยใช้กรอบความร่วมมือระหว่างไทย-มาเลเซีย (JDS) และกรอบความร่วมมือเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดจีน-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) www.nesdb.go.th

  18. ทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือภายใต้กรอบ GMS แนวโน้มการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานในภูมิภาค GMS ในอนาคตจะมีความเชื่อมโยงระบบโครงสร้างพื้นฐานภายในอนุภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น ทั้งเส้นทางคมนาคมทางบก โทรคมนาคม และโครงข่ายสายส่งไฟฟ้าและพลังงาน โครงข่ายถนน ระบบโทรคมนาคม ระบบสายส่งไฟฟ้า

  19. ทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • เป้าประสงค์ของการพัฒนา • เศรษฐกิจเติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน สร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน สร้างงานและความมั่นคงด้านรายได้ให้กับประชาชน และลดการเคลื่อนย้ายแรงงาน • คุณภาพชีวิตประชาชนสูงขึ้น ความเหลื่อมล้ำทางสังคมลดลง แรงงานมีทักษะฝีมือและมีผลิตภาพการผลิตสูงขึ้น เข้าสู่สังคมฐานความรู้ มีคุณภาพและคุณธรรม และมีความเป็นธรรม สร้างความเข็มแข็งของชุมชน รักษาฟื้นฟูวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามและความมั่นคงของอาชีพเกษตรกรให้เป็นภูมิคุ้มกันของภาค • ทรัพยากรฯและสิ่งแวดล้อมได้รับการฟื้นฟูทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ปราศจากมลพิษ และมีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มี 4 แนวทาง •  เพิ่มศักยภาพฐานการผลิตให้แข็งแกร่ง มีความสมดุล และมีความสามารถในการแข่งขัน •  พัฒนาคนให้มีคุณภาพภายใต้แนวทางการเรียนรู้ตลอดชีวิต •  สร้างความเป็นธรรมในสังคมและความเข็มแข็งของชุมชน •  การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน www.nesdb.go.th

  20. แนวทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงแผนฯ 11 แนวทางที่ 1 : เพิ่มศักยภาพฐานการผลิตให้แข็งแกร่ง มีความสมดุล และมีความสามารถในการแข่งขัน • เร่งต่อยอดและใช้ประโยชน์จากกรอบความร่วมมือและข้อตกลง ระหว่างประเทศ • สร้างความมั่นคงและสมดุลของการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานของภาค • เพิ่มศักยภาพการผลิตทั้งในและนอกเขตชลประทาน • เพิ่มความมั่นคงเพื่อรักษาภาคเกษตรและเกษตรกรรายย่อย • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอุตสาหกรรมเชื่อมโยงกับฐานการผลิตของท้องถิ่น • ส่งเสริม SME ให้มีบทบาทในภาคและมีความเข็มแข็งมากขึ้น • พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนบนพื้นฐานองค์ความรู้ภูมิปัญญาไทย • เพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวและการบริการ • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจ GAP, ORGANIC AGRI, ECO town (GREEN INDUSTRY), CREATIVE CITY, IT CITY,DISTRIBUTION CENTER (DC), เมืองชายแดน,รถไฟรางคู่,รถไฟความเร็วสูง, สนามบินนานาชาติ FLAGSHIP PROJECT

  21. แนวทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงแผนฯ 11 แนวทางที่ 2 : พัฒนาคนให้มีคุณภาพภายใต้แนวทางการเรียนรู้ตลอดชีวิต • พัฒนาคุณภาพคนให้พร้อมรองรับโอกาสด้านอาชีพ • พัฒนาระบบการศึกษาให้รองรับคนทุกวัย • เพิ่มผลิตภาพแรงงานด้านเกษตร • ส่งเสริมจริยธรรมและค่านิยมที่ดีงาม เพื่อปลูกฝังคนรุ่นใหม่ให้เป็นคนดีมีศีลธรรม • ส่งเสริมสุขภาวะโดยเน้นการรักษาและการป้องกัน • พัฒนาบริการด้านสุขภาพ MEDICAL HUP, EDUCATION CENTER,ส่งเสริมเกษตรกรรุ่นใหม่, การศึกษาทางไกล FLAGSHIP PROJECT

  22. แนวทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงแผนฯ 11 แนวทางที่ 3 :สร้างความเป็นธรรมในสังคมและความเข็มแข็งของชุมชน • สร้างโอกาสและความมั่นคงในการอาชีพ บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความสำเร็จของปราชญ์ชาวบ้านเป็นแรงจูงใจเพื่อสืบทอดอาชีพเกษตร • การรื้อฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมที่มีคุณค่าให้เป็นทุนทางสังคม • สร้างความเข้มแข็งทุนทางการเงินของชุมชน • เพิ่มบทบาทภาครัฐและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดินในพื้นที่ชุมชนเพื่อสร้างโอกาสในการอาชีพ • พัฒนาเมืองและชุมชนให้เป็นเมืองน่าอยู่ • เสริมสร้างความมั่นคงของประชาชน โดยสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการทางสังคมอย่างทั่วถึง และเป็นธรรม โฉนดชุมชน, กองทุนเงินออมสัจจะ, กองทุนสวัสดิการชุมชน, อีสานเมืองน่าอยู่, 1ไร่ 1 แสน FLAGSHIP PROJECT

  23. แนวทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงแผนฯ 11 แนวทางที่ 4 : การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน • อนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับปรุงพื้นที่ป่าไม้ • ส่งเสริมบทบาทของชุมชนในการเพิ่มพื้นที่ป่าและดูแลรักษาป่าไม้ • การค้นหาและต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำให้เหมาะสม ทั่วถึงและเป็นธรรม • พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กที่เหมาะสมกับภูมิสังคมและสภาพทางกายภาพของพื้นที่และพัฒนาระบบชลประทาน • ควบคุม กำกับ ดูแล คุณภาพสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในระดับมาตรฐาน พัฒนาแหล่งน้ำในลุ่มน้ำโขง ชี มูล แบบบูรณาการ, แก้ปัญหาอุทกภัยแบบยั่งยืน FLAGSHIP PROJECT

  24. จุดเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือจุดเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประตูการค้า หนองคาย ยางพารา เมล็ดพันธุ์ เลย นครพนม อุดรธานี หนองบัวลำภู สกลนคร มัน อ้อย พื้นที่อนุรักษ์ ประตูการค้า ขอนแก่น มุกดาหาร กาฬสินธุ์ พื้นที่อนุรักษ์ มหาสารคาม อุตสาหกรรมหลัก ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ ยโสธร ชัยภูมิ ประตูการค้า แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ อุบลราชธานี มัน อ้อย นครราชสีมา ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ปศุสัตว์/ยาง/ไม้ผล/ยืนต้น พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่อนุรักษ์ ทางหลวง เส้นทางรถไฟ • ยกระดับมาตรฐานและประสิทธิภาพการผลิตการเกษตร • ส่งเสริมพื้นที่ชลประทาน น้ำอูน หนองหวาย ลำปาว ลำตะคอง ฯลฯ เป็นเขตเกษตรก้าวหน้าผลิตสินค้าเกษตรมูลค่าสูง • ส่งเสริมการผลิตเกษตรอินทรีย์ และเกษตรปลอดภัย • พื้นที่บริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ และทุ่งสัมฤทธิ์ เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ • พื้นที่ตอนกลางและตอนล่างของภาคเป็นแหล่งผลิตพืชพลังงาน • สนับสนุนการทำ Clustering เกษตรอินทรีย์ ข้าวหอมมะลิ และพืชอื่นๆ • ใช้ประโยชน์จากกรอบความร่วมมือ GMS ACMECS และอื่นๆ • พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกในพื้นที่เมืองชายแดน • ส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว • เตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน AEC • เตรียมความพร้อมของ SME • พัฒนาทักษะและฝีมือแรงงานรองรับการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะด้านภาษาและงานวิเทศสัมพันธ์

  25. ทิศทางการพัฒนากลุ่ม จว. ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ตอนบน 1 (นค ลย อด นภ) • ปรับโครงสร้างเกษตรสู่สินค้ามูลค่าสูง • ส่งเสริมการค้าการลงทุน/ท่องเที่ยวเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน • ฟื้นฟูระบบนิเวศน์เพื่อการท่องเที่ยว • ตอนบน 2 (สก นพ มห) • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน/เมืองชายแดน • ร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ การทำเกษตรแบบมีสัญญา • พัฒนาการท่องเที่ยว การเกษตร และบุคลากร • ตอนกลาง (ขกกสมค รอ) • เกษตรก้าวหน้าผลิตสินค้ามูลค่าสูง • สร้างยี่ห้อ ข้าวหอมมะลิ • อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน หรือเอธานอล • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน/ศูนย์กระจายสินค้า • ตอนล่าง 1 (นม ชย บร สร) • สร้างมูลค่าสินค้าด้านการเกษตร • อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน • พัฒนาท่องเที่ยวโดยเน้นเรื่องราวประวัติศาสตร์ • ยกระดับฝีมือแรงงานรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ • ตอนล่าง 2 (อบ ศก ยสอจ) • ประตูเศรษฐกิจการค้าการลงทุน/ท่องเที่ยวตอนล่าง • พัฒนาท่องเที่ยวและธุรกิจบริการ • พัฒนาแหล่งน้ำ/ระบบบริหารจัดการน้ำ www.nesdb.go.th

  26. ประเด็นการพัฒนาที่สำคัญที่ควรนำไปประกอบการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดประเด็นการพัฒนาที่สำคัญที่ควรนำไปประกอบการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1. การเติบโตสีเขียว : การพัฒนาที่มุ่งสู่การเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืนเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นำไปสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ และความเป็นธรรมทางสังคม • พัฒนาภาคเกษตร โดยปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (เกษตรยั่งยืน เกษตรอินทรีย์ ฯลฯ) • การพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศน์ • การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การพัฒนาพลังงานเพื่อการเติบโตสีเขียว (พลังงานทดแทน) • ฯลฯ 2. การเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • พัฒนาความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน • เตรียมความพร้อมพัฒนาบุคลากร • พัฒนามาตรฐานคุณภาพสินค้าและบริการ • ฯลฯ 3. การเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติทางธรรมชาติ • การวางผังเมือง • การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การเตรียมความพร้อมในภาวะฉุกเฉิน • ฯลฯ www.nesdb.go.th

  27. สิ่งที่พบจากการพิจารณาคุณภาพแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ผ่านมาสิ่งที่พบจากการพิจารณาคุณภาพแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ผ่านมา เป็นข้อมูลที่พบในบางจังหวัด/กลุ่มจังหวัด www.nesdb.go.th

  28. สิ่งที่พบจากการพิจารณาคุณภาพแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ผ่านมาสิ่งที่พบจากการพิจารณาคุณภาพแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ผ่านมา • การจัดทำแผนงาน/โครงการของหน่วยงานทั้งท้องถิ่น ส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐ รวมทั้งเอกชนที่กระทำในพื้นที่จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ไม่ได้สอดคล้องหรือรองรับยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดอย่างเต็มที่ ทำให้ขาดพลังการมีส่วนร่วมในการผลักดันยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ • โครงการส่วนใหญ่ในแผนจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ยังไม่ครอบคลุมทุกแหล่งงบประมาณ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ายังไม่สามารถบูรณาการงบประมาณจากทุกภาคส่วนได้อย่างจริงจัง โดยเฉพาะโครงการในส่วนของภาคเอกชน • โครงการมีลักษณะเป็นชิ้นเป็นส่วน ขาดการบูรณาการซึ่งกันและกัน และขาดการเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างโครงการจังหวัด/กลุ่มจังหวัดด้วยกัน www.nesdb.go.th

  29. ...ข อ ข อ บ คุ ณ... www.nesdb.go.th

More Related