1 / 61

การสร้างและใช้ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่

การสร้างและใช้ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่. ดร.ทรงยศ คำชัย งานสุขภาพภาคประชาชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่. บทบาท สสจ. ในการสนับสนุนพื้นที่. ระบบสุขภาพระดับอำเภอ. เอกภาพ ของภาคีเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รพ.ชุมชน - สสอ. - รพ.สต. - อปท. - ชุมชน. DHS: District Health System.

dory
Download Presentation

การสร้างและใช้ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างและใช้ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่ ดร.ทรงยศ คำชัย งานสุขภาพภาคประชาชน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

  2. บทบาท สสจ.ในการสนับสนุนพื้นที่

  3. ระบบสุขภาพระดับอำเภอ เอกภาพ ของภาคีเครือข่ายสุขภาพอำเภอรพ.ชุมชน -สสอ.-รพ.สต.-อปท.- ชุมชน DHS:District Health System Community-based Learningร่วมคิด/ร่วมทำ/ร่วมเรียนรู้ Essential Care Self Care

  4. กระบวนการดำเนินงาน DHS Outcome Output Input Process 1. งบประมาณเพียงพอ 2. คนเหมาะสม 3. ทีมที่เป็นเอกภาพ 4. แผนที่เป็นจริง 5. เครื่องมือมีคุณภาพ 1. CBL 2. SRM 3. กองทุนตำบล 4. R2R 5. SRRT 1. หมอครอบครัว -Self Care -Essential Care 2. ระบบสุขภาพชุมชน -ตำบลจัดการสุขภาพฯ 3. Appreciation การมองเห็นคุณค่าการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข 3 ดี 1. สุขภาพดี 2. เป็นคนดี 3. รายได้พอดี ที่มา: อ.นพ.ประเวศ วะสี

  5. สิ่งที่นำมาใช้ในการสนับสนุนสิ่งที่นำมาใช้ในการสนับสนุน • การทำ MOU • ทำงาน / พัฒนาศักยภาพต่อเนื่องและก้าวหน้า • ประเมินตนเอง • เป็นที่ปรึกษาที่ดี • จัด/หาเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ส่งเสริมการประกวดแข่งขัน (แต่อย่ายึดมั่นในผลการตัดสิน เพราะการประกวดทำให้ Active) • สร้างต้นแบบ ให้สอนกันเอง • สร้างบรรยากาศการทำงานอย่างมีความสุข เช่น คณะ กรรมการ รน.สช. ภาคีใหม่ๆ • สร้างทีมวิทยากรในพื้นที่ • สร้างขวัญ กำลังใจ และเกียรติคุณ –โล่ เงินรางวัล เงินอำนวยการ เกียรติบัตร • ภาคีเครือข่ายอย่างน้อย 3 ท้อง – ท้องที่ ท้องถิ่น ท้องทุ่ง

  6. การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

  7. เส้นทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ปี 2557 กลุ่มอายุ ฉลาด สุขภาพดี มีตังค์ ยั่งยืน ประชาชน อสม. เป็นต้นแบบ ปชช. ได้รับการดูแลสุขภาพ ชุมชนมีวิสาหกิจชุมชนฯ ภาคี นักจัดการสุขภาพดำเนินงาน ภาครัฐสนับสนุนการดำเนินงาน อปท./เครือข่ายร่วมดำเนินงาน กระบวนการ มีระบบ ปชส./ติดตาม /ประเมินผล มีการประสานงาน/เชื่อมโยงภาคี มีแผนงาน/โครงการป้องกันโรควิถีชีวิต พื้นฐาน ชุมชนเข้มแข็ง/ชุมชนน่าอยู่ มีข้อมูลเป็นถูกต้อง/เป็นปัจจุบัน

  8. การจัดทำค่ากลางจังหวัดเชียงใหม่การจัดทำค่ากลางจังหวัดเชียงใหม่

  9. ค่ากลางฯ = Medium Eng. = Norm (มาจาก Mode) Thai = บรรทัดฐาน = ค่ากลางที่คาดหวัง ง่ายๆ = งานที่ใครๆ ก็ทำ

  10. ค่ากลางฯ ไม่ใช่งานที่กระทรวงสั่งให้ทำ เป็น...งานที่พื้นที่ส่วนใหญ่ (ระดับกลาง) ได้ทำแล้วประสบความสำเร็จ คือ ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ (ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ) แต่ไม่ทำให้... บรรลุผลเชิงปริมาณ หรือตัวชี้วัดของกระทรวง โดยตรง

  11. กระบวนการยกระดับโครงการสุขภาพด้วยตนเอง

  12. หัวใจสำคัญ ในการค้นหาค่ากลาง • ค่ากลางระดับจังหวัด ควรมาจากงานของพื้นที่ที่มีศักยภาพระดับกลางๆ เป็นหลัก (ร้อยละ 20) แล้วยกระดับทุกปี • ค่ากลางระดับจังหวัด ควรมาจากอย่างน้อย 2 เวที คือ ผู้ปฏิบัติ และชุมชน • ค่ากลางระดับเขต ควรเป็นค่ากลางที่มาจาก Best Practice Area (จังหวัดที่ไม่ได้ทำค่ากลาง สามารถปรับค่ากลางเขต เป็นระดับจังหวัดได้ ) • ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบงานใน สสจ. ต้องรับรู้และมีส่วนร่วม • ฝ่ายปฏิบัติต้องเข้าใจนิยามกิจกรรมหลักตรงกัน • สำคัญที่สุดอยู่ที่การนำไปใช้ โดยต้องประเมินศักยภาพก่อนใช้ค่ากลาง ส่วนการประเมินหลังใช้ค่ากลาง เพื่อยกระดับ ค้นหานวัตกรรมฯ และเปิด รน.สช. หรือ รร.อสม.

  13. ค้นหาค่ากลางฯ -จนท./อสม.+กองทุนฯ -เลือกพื้นที่เข้มแข็งระดับ กลาง รวบรวมและเรียงลำดับ -งาน สช. รวบรวม -เรียงงานตามความถี่ คัดเลือกค่ากลางฯ -กลุ่มงานเกี่ยวข้องคัดเลือก -เน้นปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การนำไปใช้ -สำรวจฯ ก่อนใช้-พัฒนา -สำรวจฯ หลังใช้-ปรับ ประกาศค่ากลางฯ -เวทีประกาศค่ากลางฯ -รับทราบทั้ง 3 ท้อง ผู้บริหารเห็นชอบ -นำเสนอผู้บริหาร -ผู้บริหารลงนาม

  14. 1. ค้นหาค่ากลางฯ - ดำเนินการระดับจังหวัด เลือกพื้นที่ (ความเข้มแข็ง) ระดับกลาง ร้อยละ 20 - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขใน รพ.สต. 1 รอบ และ อสม. รวมกับกรรมการกองทุนฯ 1 รอบ - เลือกประเด็นที่เป็นปัญหาของพื้นที่เป็นลำดับแรก - ปีหลังๆ ใช้การสำรวจ แบบเจาะจง / ให้กรอกเวลามาประชุมเวทีต่างๆ

  15. แผนงาน/โครงการ การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

  16. 2. รวบรวมและเรียงลำดับ

  17. 3. คัดเลือกค่ากลางฯ

  18. งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน แผนงาน/โครงการ การควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน งาน 3-5 งาน

  19. 4. ผู้บริหารเห็นชอบ

  20. 5. ประกาศค่ากลางฯ ครั้งที่ 1 7 สิงหาคม 2554 ครั้งที่ 2 26 มีนาคม 2557

  21. 6. การนำไปใช้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  22. การสำรวจพื้นที่ก่อนใช้ค่ากลางการสำรวจพื้นที่ก่อนใช้ค่ากลาง

  23. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินรายกิจกรรม • ระดับ1 พื้นที่ทำงานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ1งาน หรือไม่ได้ทำ • ระดับ2 พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศระหว่าง 2 ถึง 3 งาน • ระดับ3 พื้นที่งานที่เป็นค่ากลางฯ ตามประกาศ4 งานขึ้นไป หรือทุกงาน

  24. เกณฑ์การประเมิน (ต่อ) เกณฑ์การประเมินภาพรวม • ระดับ 1 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 • ระดับ 2 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วมีอย่างน้อย 1 กิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 2 และไม่มีกิจกรรมที่ได้รับการประเมินเป็นระดับ 1 • ระดับ 3 เป็นพื้นที่ที่ประเมินรายกิจกรรม แล้วทั้ง 6 กิจกรรมได้รับการประเมินเป็นระดับ 3

  25. ระดับ4 เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวมเป็นระดับ 3 รวมทั้งมีงานที่เป็นนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ประเมินตนเองส่ง สสจ. เชียงใหม่ และเตรียมจัดตั้งเป็น รน.สช.

  26. ระดับ5 เป็นพื้นที่ที่ได้รับการประเมินภาพรวม เป็นระดับ 4 แล้ว เปิดเป็น รน.สช. และมีหลักฐาน เชิงประจักษ์ที่พิสูจน์ได้ว่ากลุ่มเป้าหมายของแผนงาน/โครงการดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้(เกิดกล่องสุดท้ายของ SLM ของแผนงาน/โครงการนั้น) อย่างน้อยร้อยละ5-10ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด หรือเป็นพื้นที่ที่สามารถนำค่ากลางไปสร้างแผนงาน/โครงการแบบบูรณาการร่วมกันได้

  27. ตารางช่วยประเมินศักยภาพแผนงาน/โครงการตารางช่วยประเมินศักยภาพแผนงาน/โครงการ

  28. DM+HT FS

  29. การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดการพัฒนาหลังจากมีการกำหนด ค่ากลางของจังหวัด

  30. การบูรณา การค่ากลางฯ

  31. 5 พื้นที่บุกเบิก ปี 2556

  32. การบูรณาการประเด็นที่มีความสัมพันธ์ กับสุขภาพของกลุ่มวัยต่างๆ โปรดทราบ! ต้องปรับภาพนี้ให้เหมาะกับกลุ่มวัยที่กำหนดก่อนนำไปใช้

  33. การบูรณาการค่ากลางจังหวัดเชียงใหม่การบูรณาการค่ากลางจังหวัดเชียงใหม่ เบาหวาน-ความดันโลหิตสูง วัณโรค โภชนาการ การดูแลผู้สูงอายุ สวัสดิการ สวล.+ขยะ คบส./อาหารปลอดภัย อุบัติเหตุ/อุบัติภัย

  34. ค่ากลางที่จังหวัดควรประกาศมี 3 ประเภท คือ 1.ค่ากลางรายกลุ่มอายุ (Aging Norms) 2. ค่ากลางรายประเด็น (Issue Norms) 3. ค่ากลางส่วนสนับสนุน (Supporting Norms)

  35. เวที ที่1

  36. กระบวนการบูรณาการเพื่อสร้างโครงการในระดับพื้นที่กระบวนการบูรณาการเพื่อสร้างโครงการในระดับพื้นที่ กิจกรรมสำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กำหนดค่ากลางของ ทุกประเด็นที่สัมพันธ์กัน ชุดงาน บูรณาการงานของทุกประเด็น เข้าสู่ 2 กิจกรรม แล้วสร้างโครงการ บูรณาการ

  37. เวที ที่2

  38. การจัดการกลุ่มเป้าหมายการจัดการกลุ่มเป้าหมาย การจัดการสภาวะแวดล้อม

  39. เวที ที่3

  40. ประหยัดงบประมาณได้ 286,220 บาท (ประมาณ30%)

  41. การจัดการสภาวะแวดล้อมทำครั้งหนึ่งจะมีผลต่อเนื่องการจัดการสภาวะแวดล้อมทำครั้งหนึ่งจะมีผลต่อเนื่อง ไปถึงโครงการใหม่ๆได้ ประหยัดงบประมาณ 60%

  42. พื้นที่ใช้เงินที่ประหยัดได้เปิดโครงการที่ 3 “โครงการส่งเสริมนวัตกรรมสังคม” เพื่อพัฒนาสมรรถนะเชิงการบริหาร จัดการตนเองของประชาชน และ สร้างความเชื่อมโยงกับระบบ การพัฒนาเศรษฐกิจของตำบล “วิถีชีวิตคนอายุยืนจังหวัดเชียงใหม่”

  43. การบูรณาการในทำให้เหลือโครงการการบูรณาการในทำให้เหลือโครงการ • ในระดับพื้นที่เพียง 3 โครงการ คือ • โครงการจัดการสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย • โครงการจัดการสภาวะแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมาย • โครงการส่งเสริมนวัตกรรมสังคม

  44. การเปลี่ยนผ่านการจัดการสุขภาพสู่ภาคประชาชนการเปลี่ยนผ่านการจัดการสุขภาพสู่ภาคประชาชน ประกาศค่ากลาง บูรณาการงาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผล สร้างโครงการ เปิดงาน กองทุนฯ ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รพสต อสม เพิ่มทักษะการบริหารจัดการแบบบูรณาการ โ ค ร ง ก า ร

  45. การสร้างตัวชี้วัดจากค่ากลาง ปี 2557

More Related